Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Reproductive System and Physiology of Reproductive system, A6480097…
Reproductive System
and
Physiology of Reproductive system
Reproductive System
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
Male reproductive system
•อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
Male genital organ
แบ่งเป็น 2 ส่วน
1.อวัยวะสืบพันธ์ุภายนอกของเพศชาย
External genital organs
1.1 Scrotum
•ไม่มีไขมันใต้ผิวหนังและยื่นลงมาจากหน้าท้อง
•มีกล้ามเนื้อเรียบเรียกว่า
Dartos muscle and Cremaster muscle
•ช่วยปรับอุณหภูมิของอัณฑะให้ต่ำกว่าอุณหภูมิของร่างกาย 3-5 องศาเซลเซียส
•ภายในมีอัณฑะและบางส่วน
spermatic cords
การทดสอบการหดตัวของถุงอัณฑะ
Cremasteric reflex
เป็นการทดสอบการทำงานของ Lumbar spinal nerve คู่ที่ 1-2 (L1-2)
1.2 Penis
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่เเข็งตัวได้ (Erectile tissue) 3 อัน
•Corpus cavernosum or corpora cavernosum 2 อันอยู่ทางด้านบน
•Corpus spongiosum 1 อันอยู่ทางด้านล่างมี urethra ผ่านกลาง
2.อวัยวะสืบพันธุ์ภายในของเพศชาย
2.1 Testis
•มีลักษณะรูปไข่
•ขอบด้านหน้ากลมขอบหลังจะติดกับหลอดอสุจิ
•มีผนังหุ้ม 2 ชั้นคือ
Tunica vaginalis
Tunica albuginea
•ภายในมีท่อสร้างอสุจิ (Seminiferous tubule)
ผนังของ Seminiferous tubule ประกอบด้วย
•Spermatogenic cell จะเจริญไปเป็น mature sperm (ตัวอสุจิ)
•Interstitial cell or Leydig’s cell ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน Testosterone
•Sertoli cell ทำหน้าที่ผลิตของเหลวใช้หล่อเลี้ยงเซลล์อสุจิ
•ทำหน้าที่ของอัณฑะคือสร้างตัวอสุจิและฮอร์โมนเพศชาย
2.2 Epididymis
•วางตัวติดกับด้านหลังของอัณฑะ
•มีหน้าที่สำคัญคือเก็บ sperm ไว้จนกว่าจะโตเต็มที่เพื่อพร้อมที่จะหลั่งออก
2.3 Ductus (vas) deferens
•เป็นท่อที่ต่อจากหางของ epididymis และมีส่วนที่พองออกเป็นกระเปาะเรียกว่า
Ampulla of vas deferens
ซึ่งเป็นที่เก็บอสุจิก่อนปล่อยออกสู่ภายนอก
•เป็นที่เก็บอสุจิก่อนปล่อยออกสู่ภายนอก (อสุจิสามารถมีชีวิตอยู่ได้ 4 เดือน)
2.4 Seminal vesicle
•อยู่ด้านหลังกระเพาะปัสสาวะ
•ทำหน้าที่สร้างน้ำกามเพื่อเป็นอาหารมาเลี้ยง sperm
2.5 Ejaculatory duct
•เปิดเข้าสู่ prostatic urethra ตรงบริเวณต่อมลูกหมาก
•ทำหน้าที่บีบตัวเพื่อขับน้ำอสุจิ
2.6 Prostate gland
•อยู่ด้านล่างกระเพาะปัสสาวะและหลัง pubis symphysis
•มีหน้าที่สร้าง prostate fluid ที่มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนๆ
2.7 Urethral gland
•มีรูปร่างกลมเท่าเม็ดถั่ว
•มีหน้าที่หลั่งสารเมือกเพื่อช่วยหล่อลื่นขณะร่วมเพศ
และจะช่วยลดความเป็นกรดของน้ำปัสสาวะที่ค้างอยู่ในท่อปัสสาวะ
หน้าที่
•สร้าง sperm
•สร้างฮอร์โมนเพศชาย
•ตัวอสุจิ
Spermatozoa
ประกอบด้วยโครงสร้าง 3 ส่วนคือ
1.ส่วนหัว (Head) มีลักษณะกลมรีมีสารพันธุกรรมและ Acrosome บรรจุเอนไซม์ที่ช่วยในการเจาะเข้าสู่ไข่
2.ส่วนกลาง (Body) เป็นส่วนคอมี Mitochondia จำนวน
3.ส่วนหาง (Tail) เป็น Flagellum
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
Female reproductive system
1.อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
1.1 Mons pubis
•มีหน้าที่ป้องกันการกระเเทกของกระดูกหัวหน่าวในขณะร่วมเพศ
และสร้างกลิ่นทางเพศจากต่อมสร้างกลิ่นที่อยู่ในผิวหนังของหัวหน่าว
1.2 Labia majora
•มีลักษณะเป็นกลีบเนื้อนูน
•เทียบเท่ากับ scrotum ของเพศชาย
1.3 Labia minora
•ด้านบนจรดเป็นหนังหุ้ม Clitoris เรียกว่า frenulum
•ด้านล่างจะมารวมกันเป็น fourchette
•ทำหน้าที่ล้อมรอบและปกปิดรูเปิดของท่อปัสสาวะและช่องคลอด
1.4 Clitoris
•เป็นก้อนเนื้อเล็กๆ ตั้งอยู่ตอนบนของเเคมเล็กและใต้ mons pubis
•ภายในประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่เเข็งตัวได้
•เทียบได้กับอวัยวะเพศชายคือ penis
1.5 Vestibule
•เป็นบริเวณตั้งเเต่ clitoris จนถึง fourchette
•อยู่นอก hymen มีช่องสำคัญๆ มาเปิดคือ vagina urethral orifice and bartholin duct
1.6 Bartholin gland
•เป็นต่อมที่สำคัญที่ทำหน้าที่ขับเมือกสีเหลืองๆ ข้นออกมาช่วยหล่อลื่นช่องคลอดระหว่างร่วมเพศ
1.7 Skene’s glands or paraurethral gland
•เป็นช่องเปิดเล็กๆ 2 ช่องเทียบเท่ากับต่อมลูกหมากในเพศชาย
1.8 Hymen
•เป็นเยื่อที่ยืดหดได้ปิดปากช่องคลอดเกือบหมดเว้นช่องเล็กๆ ไว้ตรงกลางเพื่อให้ประจำเดือนผ่าน
1.9 Perineum
•ทำหน้าที่พยุงอวัยวะภายในอุ้งเชิงกราน
•ประกอบด้วย perineal body, กล้ามเนื้อ levator ani, external anal sphincter, superficial transverse perinesl
2.อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน
2.1 Vagina
•มีหน้าที่เป็นทางผ่านของเชื้ออสุจิเข้าภายในเเละเป็นทางผ่านของเด็กขณะคลอด
•เยื่อบุภายในช่องคลอดสามารถสลายตัวเกิดระดูขาวปกติในช่องคลอด
2.2 Uterus
•อยู่ใน pelvic cavity ด้านหน้าเป็น urinary bladder ด้านหลังเป็น rectum
มดลูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน
ยอดมดลูก (Fundus)
ตัวมดลูก (Body or Corpus)
Isthmus
ปากมดลูก (Cervix)
เส้นเลือดที่มาเลี้ยงมดลูก
•Uterine artery เป็นแขนงมาจาก internal lilac arteries
•Ovarian artery เป็นแขนงมาจาก abdominal artery
Endometrium แบ่งเป็น 2 ส่วน
•Stratum functionalis
•Stratum basalis
เอ็นที่ยึดมดลูก
1.Broad ligament
2.Round ligament
3.Uterosacral ligament
4.Transverse cervical ligament or (Cardinal ligament)
2.3 Cervix
•Internal os เปิดเข้าสู่โพรงมดลูก
•External os ยื่นเข้าไปในช่องคลอด
2.4 Uterine tubes or Fallopian tubes or Oviducts
แบ่งออกเป็น 4 ส่วนคือ
1.Interstitial portion (Cornu)
2.Isthmus
3.Ampulla
การปฏิสนธิ (Fertilization) บริเวณนี้มากที่สุด
4.Infundibulum
ทำหน้าที่เก็บเซลล์ไข่ที่หลุดออกจากรังไข่เป็นบริเวณที่เกิด
การปฏิสนธิและนำเซลล์ไข่ที่ผสมติดแล้วเดินทาเข้าสู่โพรงมดลูก
2.5 Ovary
หน้าที่ของรังไข่
1.สร้างไข่
2.สร้างฮอร์โมน 2 ชนิดคือ
Estrogen
Progesterone
ทำหน้าที่สร้างเซลล์ไข่และสร้างฮอร์โมนเพศหญิง
•สร้างเดือนละ 1 ใบจากเซลล์ไข่ตั้งต้นโอโอโกเนีย (Oogonia)
•แรกคลอดมีถุงไข่ประมาณ 2 ล้านใบ—>แรกรุ่น 4 แสนใบ—>400 ใบที่จะเจริญเต็มที่เป็น graffian follicle
•รังไข่ชั้นนอก (Cortex)
•Primodial follicle
•Primary follicle
•Secondary follicle
•Graffian follicle
•Corpus luteum
•รังไข่ชั้นใน (Medulla)
•เส้นเลือดและเส้นประสาท
เอ็นที่ยึด ovary กับ uterus
1.Mesovarium
2.Ovarian ligament
3.Suspensory ligament of ovary
กายวิภาคศาสตร์บริเวณขาหนีบ
1.ผิวหนัง
2.Superficial fascia
Fascial of camper
Scapa’s fascia
3.Deep fascia อยู่ใต้ superficial fascia มีลักษณะบางมาก
4.กล้ามเนื้อ
External oblique
Internal oblique
Transverse abdominis
Rectus abdominis
5.Fascia transversalis
6.Peritoneal fat
7.Peritoneum
Inguinal ligament
เกิดจากเส้นใยของกล้ามเนื้อ external oblique ซึ่งยึดจาก anterior superior spine ไปที่ pubic tubercle
Inguinal canal
Male
•เป็นทางที่อวัยวะในช่องท้องเลื่อนออกสู่ภายนอกเช่น ในเพศชายระยะที่เป็นตัวอ่อนมีอัณฑะอยู่ในช่องท้อง แต่ระยะก่อนคลอดเล็กน้อยอัณฑะเลื่อนออกจากช่องท้อง
•Contents of the inguinal canal
Spermatid cord
Inguinal nerve
Blood and lymphatic vessel
Female
•Contents of the inguinal canal
Round ligament
Inguinal nerve
Blood and lymphatic vessel
Physiology of Reproductive System
หน้าที่การทำงานของระบบสืบพันธุ์
ดำรงค์พันธุ์ให้คงอยู่ในโลกสืบต่อไปไม่ให้สูญพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
Reproductive system
อวัยวะสืบพันธุ์ระดับปฐมภูมิ
Primary sex organs, Gonads
•สร้างเซลล์สืบพันธุ์
Gametes—> Testes (male), Ovaries (female)
อวัยวะสืบพันธุ์ระดับทุติยภูมิ
Secondary sex organs, Accessory
•ท่อต่างๆ (various), ต่อม (glands), อวัยวะเพศภายนอก (external genitalia)
ควบคุมการทำงานโดย
Hypothalamic-Pituitary-Gonadal axis
การกำหนดเพศและความแตกต่างทางเพศของมนุษย์
Human sex determination and differentiation
•พันธุกรรมทางเพศ (Genetic sex)
•โครโมโซมมีทั้งหมด 23 คู่
คู่ที่ 1-22 เป็น Autosomal chromosomes
คู่ที่ 23 เป็น Sex chromosomes
เพศชาย
Male
โครโมโซมเพศ;
XY
•มีการแสดงออกของ SRY gene—> มีการผลิต TDF—> กระตุ้น Primordial gonad—> Testes
•Sertoli cells—> หลั่งฮอร์โมน MIS—> ทำให้ท่อ Mullerian duct ฝ่อ
•Leydig cells—> หลั่งฮอร์โมน Testosterone—> พัฒนา Wolffian duct และอวัยวะเพศชายอื่นๆ
ฮอร์โมน;
Testes determination factor (TDF)
เพศหญิง
Female
โครโมโซมเพศ;
XX
•ไม่มีการแสดงออกของ SRY gene—> ไม่มีการผลิต TDF—> กระตุ้น Primordial gonad—> Ovaries
•ไม่มีฮอร์โมน MIS—> พัฒนา Mullerian duct—> Vagina, Uterus, Fallopian tube
•ไม่มีฮอร์โมน Testosterone—> ทำให้ Wolffian duct ฝ่อ เกิดการพัฒนาไปเป็นอวัยวะเพศหญิง
ฮอร์โมน;
No TDF
•อวัยวะเพศ (Gonadal sex)
•ลักษณะทางเพศภายนอก (Phenotypic sex)
ความผิดปกติในการเจริญเติบโตของระบบสืบพันธุ์
Abnormal sex determination and differentiation
Anomalies in sex Determination
Infertility
Some women
Anomalies in sex Differentiation
Fertility
สรีรวิทยาของระบบสืบพันธุ์เพศชาย
Male reproductive physiology
อวัยวะต่างๆ ในระบบสืบพันธุ์เพศชาย
•อวัยวะสืบพันธุ์ระดับปฐมภูมิ
อัณฑะ
Testes
•สร้างอสุจิ
•ผลิต Testosterone
•sertoli cells มีกระบวนการ Spermatogenesis สร้างอสุจิ
•leydig cells มีกระบวนการ Steroidogenesis ผลิตฮอร์โมน Testosterone
•อวัยวะสืบพันธุ์ระดับทุติยภูมิ
Epididymis, Vas deferens, Prostate gland, Seminal vesicle, Penis
การสร้างเซลล์อสุจิ
Spermatogenesis
Spermatogonium➡️1 Spermatocyte➡️2 Spermatocyte➡️Spermatids➡️Sperm
เซลล์อสุจิ/น้ำอสุจิ
Sperm/Semen
Sperm
Spermatozoon
Spermatozoa
Semen
Seminal fluid
2-5 ml/time
200-300 million sperm
Slightly alkaline
pH 7.0-7.5
ขั้นตอนการหลั่งของน้ำอสุจิ
Phases of ejaculation
Testes➡️Epididymis➡️Vas deferens➡️Ejaculatory duct➡️Urethra
การเเข็งตัวขององคชาต, Erection
Penis;
Vasodilation⬆️, Blood flow⬆️
การเคลื่อนตัวของอสุจิ, Emission
semen;
Testes—> Urethra
การหลั่งอสุจิ, Ejaculation
Semen;
Urethra—> Out of penis
การควบคุมการหลั่งอสุจิ
Control of ejaculation
•Brain
•Spinal cord
•Peripheral nerves
สรีรวิทยาระบบสืบพันธุ์ของเพศหญิง
Female reproductive physiology
อวัยวะต่างๆ ในระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
•อวัยวะสืบพันธุ์ระดับปฐมภูมิ
รังไข่
Ovaries
•สร้างไข่
•ผลิต Estrogen, Progesterone
•มีกระบวนการ Oogenesis สร้างไข่ (Oocyte/Ovum)
•Follicle ผลิตฮอร์โมน Estrogen
•Corpus luteum ผลิตฮอร์โมน Progesterone
•อวัยวะสืบพันธ์ุระดับทุติยภูมิ
Uterus, Fallopian tube, Vagina, Mammary glands
การสร้างเซลล์ไข่
Oogenesis
อยู่ในท้องเเม่ (Pre-natal)➡️ Oogonium➡️ หลังคลอด (Post birth)➡️ 1Oocyte➡️ หลังมีประจำเดือน (Post 1 menstruation)➡️ 2Oocyte➡️ หลังปฏิสนธิ (Post fertilization)➡️ Ovum
วงจรประจำเดือน
Menstrual cycle
Gonadotropic hormone
(Anterior pituitary gland)
ลักษณะเฉพาะของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
•วงจรการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูก (Uterine cycle)
•วงจรการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก (Cervical cycle)
•วงจรการเปลี่ยนแปลงของรังไข่ (Ovarian cycle)
•วงจรการเปลี่ยนแปลงของผนังช่องคลอด (Vaginal cycle)
วงจรการเปลี่ยนแปลงของรังไข่
Ovarian cycle
Follicle phase (1-14 days)
•Egg matures;
พัฒนาเซลล์ไข่ให้สมบูรณ์
Ovulation (Day 14)
•Egg released;
วันไข่ตก
Luteal phase (14-28 days)
•Corpus luteum;
พัฒนา Endometrium
No pregnancy (Day 28)
•Menses;
Endometrium and Egg ฝ่อ เเล้วถูกขับออกมาเป็นประจำเดือน
การปฏิสนธิ
Fertilization
Sperm makes contact with egg
Acrosome reacts with zona pellucida
3.Acrosome reacts with perivitelline space
Plasma membranes of sperm and egg fuse
5.Sperm nucleus enters egg
6.Cortical granules fuse with egg plasma membrane, which renders the vitelline layer impenetrable to sperm
การตั้งครรภ์
Pregnancy
ใช้เวลา 226-270 วัน
นับตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงคลอด
Human chorionic gonadotropin (hCG)
ฮอร์โมนของการตั้งครรภ์ที่ใช้เป็นตัวบ่งชี้ว่าตั้งครรภ์หรือไม่
ผลิตขึ้นจากเซลล์รกของทารก ซึ่งสามารถตรวจพบได้ใน
เลือดและปัสสาวะ
step 1;
egg leaves ovary and enters fallopian tube
step 2;
sperm enters egg and unites with nucleus
step 3;
fertilised egg divides
step 4;
cells attach to uterus
การคลอด
Parturition
Dilation phase➡️ Expulsion phase➡️ Placental phase
การให้นม
Lactation
•Oxytocin
หลั่งน้ำนม
•Prolactin
ผลิตน้ำนม
ฮอร์โมนและการควบคุมระบบสืบพันธุ์
Hormones and Regulation of Reproductive system
Male
Hormone;
Testosterone
Source of production;
Testes
Main function ;
Stimulate the male secondary sexual characteristics
Female
Hormone;
Estrogen
Source of production;
Ovaries
Main function;
Stimulate the female secondary sexual characteristics; repair of the wall of the uterus; control ovulation
Hormone;
Progesterone
Source of production;
Ovaries and Placenta
Main function;
Prevents the wall of uterus breaking down
การตอบสนองต่ออารมณ์ทางเพศของชาย-หญิง
Stages of sexual response cycle
Male
Stage
Desire (Libido)
Erect penis
Elevation of testes
Arousal (Excitement)
Pre-ejaculate
Testes increase in size
Prostate enlarges
Orgasm
Ejaculation occurs
Contraction of penis, urethra, prostate, seminal vesicles
Resolution
Testes descend
Penis returns to flaccid state
Female
Stage
Desire (Libido)
Vagina becomes wet
Elevation of uterus
Clitoris grows
Labia enlarge
Arousal (Excitement)
Vagina enlarges and expands
Elevation of uterus
Labia enlarge
Orgasm
Vagina contractions
Uterus contractions
Resolution
Vagina and Clitoris return to normal size
Uterus return to normal position
การคุมกำเนิด
Contraception
More effective
Implant 0.05 %
Intrauterine
LNG-0.2% CopperT-0.8%
Injectable 6%
Pill 9%
Patch 9%
Ring 9%
Diaphragm 12%
Less effective
Male condom 18%
Female condom 21%
Withdrawal 22%
Sponge
24% parous women
12% nulliparous women
Fertility-Awareness Based Methods 24%
Spermicide 28%
A6480097 นางสาวชฎาพร พึ่งผล