Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Study :silhouette: - Coggle Diagram
Case Study :silhouette:
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 3 เซลล์ร่างกายอาจได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากตัวนําออกซิเจนลดลงและระดับความรู้สึกตัวลดลง
o : ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วันที่1 กุมภาพันธ์ 2565
Hb 9.0g/dl
Hct 26.9%
WBC 24900 ul
Neutrophil 77.0%
Platlet Count 21000 ul
Platelet Smear Decrease
สัญญาณชีพวันที่ 1กุมภาพันธ์ 2564
T: 40.3 องศาเซลเซียส P:86/min R: 20/min BP: 110/84mmHg
วัตถุประสงค์
- เซลล์ของร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เกณฑ์การประเมินผล
- สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ ได้แก่ BP = 90/60 - 120/80 , T= 36.5 - 37.5 องศาเซลเซียส , P = 60-100 ครั้ง/นาที , RR = 16-24 ครั้้ง/นาที
-
- capillary refill time < 2 วินาที
- Hematocrit อยูในเกณฑ์ปกติ ่ คือช่วงระหวาง่ 37-51 %
กิจกรรมการพยาบาล
- ลดการใช้ออกซิเจนของผู้ป่วยโดยจัดให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียง จำกัดการทำกิจกรรมต่างๆของผู้ป่วยให้น้อยลง จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบเพื่อให้ผู้ป่วยพักผ่อนได้เต็มที่
- จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนราบไม่หนุนหมอนยกปลายเท้าสูงเล็กน้อย(supine position)เพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดโดยปราศจากการรบกวนกระบังลมที่หยอนลงมาขณะหายใจเข้าและช่วยลดรีเฟล็กซ์ของ aorticcและcarotid sinus barorecepters ซึ่งเป็นผลดีที่ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองมากขึ้น
- สังเกตอาการขาดออกซิเจน คือ ปลายมือปลายเท้าเขียว กระสับกระส่าย ประเมินอาการเปลี่ยนแปลงโดยการวัดสัญญาณชีพทุก 2 ชั่วโมง
- เนื่องจากผู้ป่ วยใส่ Nasogastric tube ไว้ควรหมันดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง จัดเตรียมอุปกรณ์ดูดเสมหะหรือ สิ่งคัดหลังภายในจมูกและปากเพื่อป้องกันการอุดกั้นทางเดินหายใจ และทำการดูดเสมหะเมื่อมีเสมหะอุดกั้นทางเดินหายใจผู้ป่วย
- ดูแลให้ได้รับเลือดตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อชดเชยเลือดที่สูญเสียไป
- ติดตามผล Hct หลังการให้เลือด ประเมินสีผิว ดูความสามารถในการช่วยเหลือตนเองในการทำกิจกรรมต่างๆ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 1 ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อในสมองเนื่องจากแผลที่แขนข้างขวาร่วมกับมีภาวะเลือดออกที่ทางเดินอาหาร
-
วัตถุประสงค์
- ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะติดเชื้อใน
สมอง
เกณฑ์การประเมินผล
- สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ ได้แก่ BP 90/60 -120/80 , T 36.5-37.5 องศาเซลเซียส , P 60-100 ครั้ง/นาที , RR 16-24 ครั้ง/นาที
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- การเจาะเลือดเพื่อเพาะเชื้อ (Hemoculture) เมื่อมีการวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีการติดเชื้อ และมีแผนการรักษาให้ยาต้านจุลชีพ ควรมีการเจาะHemoculture และสารคัดหลั่งต่างๆ ที่น่าจะเป็นสาเหตุของการติดเชื้อ ก่อนเริ่มให้ยาต้านจุลชีพ ควรเก็บสิ่งส่งตรวจก่อนเริ่มให้ยาต้านจุลชีพและใช้หลักสะอาดปราศจากเชื้อ เพื่อให้การส่งเพาะเชื้อมีประสิทธิภาพ ผู้ป่วยได้รับยาที่ถูกต้อง
- การดูแลให้ยาต้านจุลชีพทางหลอดเลือดดำ เพื่อกำจัดแหล่งติดเชื้อที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อซึ่งควรให้ยาที่เหมาะสมกับการติดเชื้อตามแผนการรักษาของแพทย์
- การดูแลให้สารน้ำอย่างเพียงพอตามแผนการรักษาและ การเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันผลข้างเคียงที่อาจเกิดจากการได้รับสารน้ำในปริมาณมากและรวดเร็ว การประเมินภาวะน้ำเกิน เช่น ไอ มีเสมหะเป็นน้ำมีฟองเมื่อฟังปอดพบจะได้ยินเสียง Crepitation ควรรายงานแพทย์ส่งตรวจเอกซเรย์ปอดเพื่อประเมินPulmonary edema หรือหยุดการให้สารน้ำ
- การติดตามและประเมินปริมาณปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง เพื่อประเมิน Tissue Perfusion และติดตามประสิทธิภาพการทำงานของไต เฝ้าระวังภาวะไตวาย รายงานแพทย์เมื่อปัสสาวะออกน้อยกว่า0.5 ml/kg/hr
- ประเมินและบันทึกสัณณาญชีพและระดับความรู้สึกตัว
- ดูแลให้ได้รับยา Tazocin 4.5 g IV drip q 3 hr, ตามแผนการรักษา
- ดูแลทำความสะอาดแผล UGI ด้วยหลัก aseptic technique
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2 มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนการติดเชื้อเนื่องจาก
การใส่ท่อช่วยหายใจและการใช้เครื่องช่วยหายใจ
o : - On Endotracheal tube ขนาด 7.2 มิลลิเมตร mark 26 , on ventilator
วัตถุประสงค์
- ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการ
ใส่ท่อช่วยหายใจและการใช้เครื่องช่วยหายใจ
เกณฑ์การประเมินผล
- ตำแหน่งท่อช่วยหายใจไม่มีการเลื่อนหลุดอยู่ตรงตำแหน่ง
- สามารถถอดเครื่องช่วยหายใจได้
กิจกรรมการพยาบาล
- 1.ตรวจสอบตำแหน่งที่เหมาะสมของท่อช่วยหายใจภายหลังใส่ท่อ
ช่วยหายใจ
- ยึดท่อช่วยหายใจให้อยู่กับที่โดยติดพลาสเตอร์หรือใช้เชือกยึดท่อ
ช่วยหายใจโดยให้ดึงไปคนละทาง
- ป้องกันท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุดดูแลและจัดสายต่อเครื่องช่วย
หายใจให้อยู่ในตำแหน่งที่ไม่ดึงรั้ง
- ตรวจสอบให้ท่อช่วยหายใจอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมทุกครั้งที่
ให้การพยาบาล
- .ระมัดระวังการดึงรั้งของท่อช่วยหายใจและตรวจดูว่าปลายท่ออยู่
ในตำแหน่งที่เหมาะสม
- ประเมินเยื่อบุในช่องปากว่าแห้งมีรอยแดงหรือมีบาดแผลหรือไม่
อย่างน้อยเวรละ 1 ครั้ง
- ทำความสะอาดช่องปากและฟันทุก 8 ชั่วโมง ทาริมฝีปากด้วย
วาสลีนเพื่อป้องกันไม่ให้ริมฝีปากแห้ง
- วัดความดันของกระเปาะลมของท่อช่วยหายใจไม่ให้เกิน 20-30
เซนติเมตรน้ำเพื่อป้องกันการกดทับหลอดลม
- ตั้งเครื่องช่วยหายใจให้มีปริมาตรอากาศที่ไหลเข้า-ออกจาก
ปอด/การหายใจ 1 ครั้ง 500 มิลลิลิตร
-
- สังเกตภาวะผิวหนังบริเวณหน้าอกหากตึงมากและคลำได้เสียง
กรอบแกรบรายงานแพทย์
- .ส่งและติดตามผลภาพถ่ายรังสีทรวงอกเพื่อตรวจสอบตำแหน่ง
ของท่อช่วยหายใจ
- ดูดเสมหะเมื่อผู้ป่วยเสมหะอุดกั้นทางเดินหายใจเมื่อจำเป็นอย่างน้อยเวรละ 2 ครั้ง
- ทำความสะอาดช่องปากและฟันทุกครั้งที่ทำการดูดเสมหะให้กับผู้ป่วย
-
-
ความหมาย
Upper gastrointestinal hemorrhage (UGIH) เป็นภาวะที่มีเลือดออกจากหลอดอาหารส่วนที่มีพยาธิสภาพไปจนถึงทางออกของกระเพาะอาหารทำให้เลือดสะสมคั่งค้างอยู่ในกระเพาะอาหารเลือดที่ออกมสัมผัสกับกรดและสิ่งขับหลั่งในกระเพาะอาหารและทำปฏิกิริยาต่อกันจึงมีสีดำคล้ำหากเลือดออกมากในเวลาสั้นผู้ป่วยจอาเจียนออกมาเป็นเลือดสีแดงสดได้
เลือดที่ออกในทางเดินอาหารส่วนต้นอาจเกิดจากแผลที่หลอดอาหารส่วนปลายกระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กส่วนดูโอดีนัม หรือที่รูเปิดสู่ลำไส้เล็กส่วนเจจูนัม แผลส่วนใหญ่จะอยู่ทางผนังด้านหลัง ส่วนด้านหน้าของกระเพาะอาหารและดูโอดีนัมมีหลอดเลือด มักมีขนาดเล็กกว่าผนังด้านหลัง แผลเปปกติจะมีเลือดออกจะต้องเป็นแผลลึกถึงชั้นชีโรชา (Serosa) เพราะเป็นชั้นเยื่อบุที่มีหลอดเลือดกระจายตัวมาหล่อเลี้ยงผนังกระเพาะอาหารทำให้หลอดเลือดฉีดขาด การมีเลือดออกมากหรือน้อยขึ้นกับความกว้างของแผล
มีถ่ายอุจจาระดำ (Melena) หรืออาเจียนเป็นเลือด(Hematemesis) หรือมีเลือดออกซ้ำอีก ผู้ป่วยจะมีอาการแสดงของการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรงและหมดสติ เนื่องจากปริมาตรเลือดในร่างกายน้อยลง ทำให้ปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดน้อยลง
ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน เกิดจากทางเดินอาหารอักเสบหรือเป็นแผล โดยตามปกติทางเดินอาหารจะมี mucosal barrier เพื่อป้องกันการย่อยของตัวเอง เมื่อมีการหลั่งกรดโดยมี prostaglandin เป็นคัวช่วยป้องกัน แต่ถ้ากลไกการป้องกันล้มเหลวหรือขาดสมดุล จะทำให้ทางเดินอาหารอักเสบ และมีการทำลายของ mucosa ทำให้เกิดอันตรายต่อเส้นเลือดเล็กๆ (small vessel) ทำให้เกิดการบวม เลือดออก และรอบถลอก เลือดที่ออกมาจะทำปฏิกิริยากับน้ำย่อยใยกระเพาะอาหาร จึงทำให้เลือดเป็นสีดำ ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการอาเจียนเป็นเลือดสดหรือเลือดเก่า และถ่ายดำst
-
อาการ
-
-
-
-
-
-
-
1 วันก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยมีอาการถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ กลิ่นเหม็น ปฏิเสธการอาเจียนเป็นเลือดหรือเลือดสด มีอาการปวดท้องเป็นๆหายๆ มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
สาเหตุ
-
-
-
-
-
-
ผู้ป่วยมีประวัติการดื่มสุรา วันละ1กั๊ก เป็นเวลานาน35 ปี
ประวัติการสูบบุหรี่ สูบวันละ5 มวน/วัน เป็นเวลานาน 35 ปี ตอนนี้เลิกดื่มสุรา และสูบบุหรี่เป็นเวลา 4 ปี
วินิจฉัย
ซักประวัติ
-
-
-
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 57 ปี
CC :ถ่ายดำ1 วันก่อนมา
PI : 1 วันก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยมีอาการถ่ายดำ กลิ่นเหม็น ปฏิเสธอาเจียนเป็นเลือดหรือเลือดสด มีอาการปวดท้องเป็นๆหายๆ มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
โรคประจำตัว : U/D : thrombocytopenia, severe aplastic anemia, cirrhosis
ประวัติการดื่มสุรา : ผู้ป่วยเคยดื่มสุราวันละ1 กั๊ก เป็นเวลานาน 35 ปี ตอนนี้เลิกดื่มมา4 ปี
ประวัติการสูบบุหรี่ : ผู้ป่วยเคยสูบบุหรี่วันละ5มวน/วัน เป็นเวลานาน35 ปี ตอนนี้เลิกสูบบุหรี่มา4 ปี
ผู้ป่วยปฏิเสธ การรับประทานยาชุดหรือยาแก้ปวด
การตรวจร่างกาย
-
-
ผลการตรวจร่างกายผู้ป่วย
GA : a Thai meal ood conscious HEENT : pale conjunctiva Icteric sclera. Heart : regular rhythm,normal S1S2,no murmur. Lung : Clear epual beat sounds. Abdomen : Soft not tender,no rigidity, on sign chonicLiver discase ( spidenevi,no hepathomegaly )
-
ยา
-
ยาที่ใช้รักษาในโรงพยาบาล
-
-
-
Tazocin 4.5 g IV Stat then Tazocin 4.5 g IV drip q 3 hr,
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 57 ปี
CC :ถ่ายดำ1 วันก่อนมา
PI : 1 วันก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยมีอาการถ่ายดำ กลิ่นเหม็น ปฏิเสธอาเจียนเป็นเลือดหรือเลือดสด มีอาการปวดท้องเป็นๆหายๆ มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
โรคประจำตัว : U/D : thrombocytopenia, severe aplastic anemia, cirrhosis
ประวัติการดื่มสุรา : ผู้ป่วยเคยดื่มสุราวันละ1 กั๊ก เป็นเวลานาน 35 ปี ตอนนี้เลิกดื่มมา4 ปี
ประวัติการสูบบุหรี่ : ผู้ป่วยเคยสูบบุหรี่วันละ5มวน/วัน เป็นเวลานาน35 ปี ตอนนี้เลิกสูบบุหรี่มา4 ปี
-
FANCUS
-
-
Aeratio
-
ผลตรวจร่างกาย
Heart : Normal S1 S2 , No murmur
Lung : Clear , Equal breath sound
-
-
-