Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พืชสมุนไพร และกัญชาทางการแพทย์ - Coggle Diagram
พืชสมุนไพร และกัญชาทางการแพทย์
สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
กลุ่มของพืชสมุนไพรที่ได้รับการคัดเลือกมาเพื่อใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ รักษาโรค และอาการเบื้องต้นที่สามารถ
วินิจฉัยและรักษาด้วยตนเองได้รวมทั้งมีการส่งเสริมให้ปลูกไว้ประจ าบ้าน
ระบบทางเดินอาหาร
โรคกระเพาะ
กล้วยน้ำว้า
ขมิ้นชัน
ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด
ขมิ้นชัน ขิง
กระเทียม
ข่า ตะไคร้ ดีปลี
มะนาว
ท้องผูก
ขี้เหล็ก
มะขาม
ชุมเห็ดเทศ
ท้องเสีย
ฟ้าทะลายโจร
กล้วยน้ำว้า
เปลือกมังคุด
คลื่นไส้ อาเจียน
ขิง
ยอ
โรคพยาธิลำไส้
ฟักทอง
เล็บมือนาง
เบื่ออาหาร
ขี้เหล็ก
บอระเพ็ด
สะเดาบ้าน
มะระขี้นก
ปวดฟัน
แก้ว
ข่อย
ผักคราดหัวแหวน
มีพืชสมุนไพร 61 ชนิด
แบ่งเป็นสมุนไพรที่ใช้รักษากลุ่มโรค ได้ 5 ประเภท
ระบบทางเดินหายใจ
ไอ ระคายคอ มีเสมหะ
ขิง ดีปลี
มะขาม มะนาว
มะขามป้อม
ลิ้นฟ้า
มะแว้งต้น
มะแว้งเครือ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการขัดเบา (มีอาการปัสสาวะขัด ไม่คล่อง แต่ไม่รุนแรงถึงมีอาการบวม)
กระเจี๊ยบแดง
*ห้ามใช้ในผู้ที่มีการทำงานของไตบกพร่อง
ตะไคร้ สับปะรด
หญ้าคา อ้อยแดง
กลุ่มโรคผิวหนัง
กลาก เกลื้อน
พลู
กระเทียม
ชุมเห็ดเทศ
ข่า
แผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
ว่านหางจระเข้
ใบบัวบก
ฝี แผลพุพอง
ขมิ้นชัน
ชุมเห็ดเทศ
ว่านหางจระเข้
ฟ้าทะลายโจร
อาการแพ้อักเสบจากแมลงสัตว์กัดต่อย
พญายอ
ขมิ้นชัน
ผักบุ้งทะเล
ตำลึง
ลมพิษ
พลู
งูสวัด เริม
พญายอ
กลุ่มโรคและอาการเจ็บป่วยอื่นๆ
เคล็ด ขัดยอก (ใช้ภายนอก)
ไพล
อาการนอนไม่หลับ
ขี้เหล็ก
อาการไข้
ฟ้าทะลายโจร บอระเพ็ด
หิด เหา
น้อยหน่า
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
สมุนไพร
ผลิตผลธรรมชาติที่ได้จากพืช สัตว์จุลชีพ หรือแร่
ใช้ ผสมปรุง หรือแปรสภาพ
ยาแผนไทย
ยาที่ได้จากสมุนไพรโดยตรง
ยาพัฒนาจากสมุนไพร
ยาที่ได้จากสมุนไพร
โดยตรง
ได้จากการผสม ปรุง หรือแปรสภาพสมุนไพร
ที่ไม่ใช่ยาแผนไทยและยาตามองค์ความรู้การแพทย์ทางเลือก
ยาสามัญประจำบ้าน (แผนโบราณ)
รายการสมุนไพรและ
ตำรับยาสมุนไพรที่ได้รับการประกาศจากกระทรวงสาธารณสุขให้เป็นยาสามัญประจำบ้าน
ไม่จำเป็นต้องขายเฉพาะในร้านที่
ได้รับอนุญาตขายยา
ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงยากลุ่มนี้ได้
อย่างแพร่หลายมากขึ้น
สมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ
กลุ่มที่ 1 ยาแผนโบราณหรือยาแผนไทย
เป็นตำรับยาที่มีการ
ใช้กันมาดั้งเดิม จำนวน 50 ต ารับ
กลุ่มที่ 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร
เป็นสมุนไพรเดี่ยวที่มีรายงาน
การศึกษาวิจัยในเชิงวิทยาศาสตร์ จำนวน 24 รายการ
ตัวอย่างยาพัฒนาจากสมุนไพร
ยาฟ้าทะลายโจร
ไม่ได้ป้องกันโควิด เพียงแค่ยับยั้ง
ห้ามใช้ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร เนื่องจากอาจทำให้เกิด
ทารกวิรูปได้
ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรสำหรับแก้เจ็บคอ
ควรระวังการใช้ร่วมกับยาต้านการแข็งตัวของเลือดและยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด
ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดความดันเลือดเพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้
หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทำให้แขนขามีอาการชา หรือ อ่อนแรง
ขนาดและวิธีใช้ยาฟ้าทะลายโจร
รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 2 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลัง
อาหารและก่อนนอน
ยาขมิ้นชัน
ข้อห้ามใช้ของยาขมิ้นชัน
ห้ามใช้กับผู้ที่ท่อน้ำดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อยานี้
ข้อควรระวังการใช้ยาขมิ้นชัน
ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ าดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
ควรระวังการใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
ควรระวังการใช้กับเด็ก เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและความ
ปลอดภัย
ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาต้านการแข็งตัวของเลือด (anticoagulants)
และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
ควรระวังการใช้ร่วมกับยารักษาโรคมะเร็งบางชนิด เช่น doxorubicin,
chlormethine, cyclophosphamide และ camptothecin เนื่องจาก
อาจมีผลต้านฤทธิ์ยาดังกล่าว
การใช้ยาขมิ้นชัน
ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้: รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม
วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ตัวอย่างยาแผนโบราณหรือยาแผนไทย
“ยาเหลืองปิดสมุทร”
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือมีเลือดปน ท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ เป็นต้น ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรไปพบแพทย์
กัญชาทางการแพทย์
(Medical Cannabis)
สิ่งที่ได้จากการสกัดพืชกัญชา เพื่อนำสารสกัดที่ได้ มาใช้
ทางการแพทย์และการวิจัย
ไม่ได้หมายรวมถึงกัญชาที่ยังคงมีสภาพเป็นพืช
กัญชา
เก็บเกี่ยวต้นตัวเมียที่ผลิตดอก เพื่อนำมาสกัดเป็นยา
มีสาร THC และ CBD ในปริมาณเพียงพอที่สามารถรักษาโรคได้
กัญชง
เก็บเกี่ยวต้นเพื่อใช้ใยธรรมชาติทำเป็นวัสดุสิ่งทอ
เก็บเกี่ยวเมล็ดเพื่อสกัดน้ำมัน มีกรดไขมันโอเมก้า-3 ชนิดเดียวกันกับที่พบในน้ำมันปลา
เส้นใยให้ปริมาณมาก
มีโปรตีนสูง
ชื่อวิทยาศาสตร์ของทั้งกัญชาและกัญชง คือ
Cannabis sativa L.
สารสำคัญในกัญชาพบมากที่สุด
จากกัญชา
Cannabinoids
ถูกผลิตที่ glandular trichome ซึ่งพบมากที่สุดใน
ส่วนช่อดอกตัวเมีย
Terpenoids (terpenes)
เป็นสารที่ให้กลิ่น (กลิ่นมีความจำเพาะใน
แต่ละสายพันธุ์ของกัญชา)
Flavonoids
มีผลต่อสีและกลิ่นของกัญชา