Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเรียนรู้ที่ 7 กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง - Coggle Diagram
การเรียนรู้ที่ 7
กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายสิ่งแวดล้อม
กฎหมายประเภท 1 โดยตราขึ้นเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นหลักซึ่งจะประกอบไปด้วย 7 หมวด
1 คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
2 กองทุนสิ่งแวดล้อม
3 การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
4 การควบคุมมลพิษ
หามาตรการส่งเสริม
6 ความรับผิดชอบทางแพ่ง
7 บทกำหนดโทษ
พระราชบัญญัติโรงงานพ. ศ. 2535
พระราชบัญญัติฉบับนี้แบ่งโรงงานเป็น 3 ประเภทใหญ่ทั้งนี้เพื่อง่ายแก่การควบคุมและดูแลโรงงานโดยแบ่งเป็น 3 หมวดได้แก่
โรงงานประเภทที่ 1 โรงงานขนาดเล็กที่มีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้าหรือโครงงานคนงานไม่เกิน 20 คน
โครงงานประเภทที่ 2 โรงงานขนาดกลางที่มีเครื่องจักรไม่เกิน 50 แรงม้าหรือคนงานเกิน 50 คน
โครงงานประเภทที่ 3 โรงงานขนาดใหญ่ที่มีเครื่องจักรเกิน 50 แรงม้าหรือคนงานเกิน 50 คน
การกำกับดูแลโรงงาน
ให้เจ้าพนักงานมีหน้าที่เข้าไปตรวจสอบภายในโรงงานเก็บตัวอย่างหรือยึดผลหรืออายัดผลิตภัณฑ์ในกรณีที่มีเหตุสงสัยว่าอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินให้ทำการจับกุมและปรับค่าปรับร้อยละ 30 ต่อปี
บทลงโทษ
หากผู้ทำผิดกระทำฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 5,000 บาทหรือจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงจะถึง 2 ปีหากฝ่าฝืนจะถูกปรับวันละ 5,000 บาท
พระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ. ศ. 2535 2535
เพื่อใช้ในการกำกับดูแลปฏิกูลของเสียของโรงงานไว้ดังนี้
สิ่งปฏิกูลที่จำกัดความของกฎหมายฉบับนี้คือของเสีย 2 ชนิด
สิ่งปฏิกูล
หมายความว่าอุจจาระหรือปัสสาวะหรือความหมายรวมถึง สิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น
มูลฝอย
เศษกระดาษเศษผ้าเศษอาหารหรืออื่นๆที่กฎหมายแบ่งออกเป็น 16หมวดได้ดังนี้
1 บททั่วไป
2 คณะกรรมการสาธารณสุข
3 การกำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย
4 สุขลักษณะของอาคาร
5 เหตุรำคาญ
6 การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์
7กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
8 ตลาด
9 การจำหน่ายสินค้าในที่หรือสาธารณะ
10 อำนาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าหน้าที่หน่วยงานสาธารณสุข
11 หนังสือรับรองการแจ้ง
12 ใบอนุญาต
13 อัตราธรรมเนียมค่าปรับ
14 การอุทธรณ์
15 บทกำหนดโทษ
16 บทเฉพาะกาล
กฎหมายอนุรักษ์พลังงาน
มีวัตถุประสงค์ดังนี้
1 กำกับดูแลส่งเสริมและสนับสนุนผู้ที่อาศัยใต้บังคับของกฎหมายมีการอนุรักษ์พลังงานด้วยการผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดผลการผลิตเครื่องจักรอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพและใช้วัสดุในการอนุรักษ์พลังงานขึ้นภายในประเทศ
3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการอนุรักษ์พลังงานเป็นรูปประธรรม
กิจกรรมที่ถือว่าเป็นการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานตามมาตรา 7 ได้แก่
1 การปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหม้เชื้อเพลิง
2 การป้องกันการสูญเสียพลังงาน
3 การนำพลังงานที่เหลือสะอาดการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่
4 การเปลี่ยนไปใช้พลังงานอีกประเภทหนึ่ง
5 การปรับปรุงการใช้ไฟฟ้าด้วยวิธีปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
6 การใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง
7 การอนุรักษ์พลังงานโดยวิธีอื่นตามกฎหมายตามกฎกระทรวง
หน้าที่และขั้นตอนการอนุรักษ์พลังงานของอาคารควบคุม
1 จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอย่างน้อย 1 คน
2 ส่งข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตการใช้พลังงานและการอนุรักษ์ให้แก่กรมพัฒนาพลังงาน
3 จัดให้มีการบันทึกข้อมูลการใช้พลังงานการติดตั้งหรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มีผลต่อการใช้พลังงาน
4 กำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมส่งให้แก่การกรมพัฒนาพลังงานทดแทน
ตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมาย
การอนุรักษ์พลังงาน
การอนุรักษ์พลังงานคือการผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดการอนุรักษ์พลังงานนอกจากจะช่วยลดปริมาณในการใช้พลังงานแล้วยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
นโยบายพลังงานของประเทศไทย
1 พัฒนาพลังงานให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาตัวเองได้มากขึ้น
2 ดำเนินการให้นโยบายด้านพลังงานทดแทนเป็นวาระแห่งชาติ
4 ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานทั้งในภาคครัวเรือนอุตสาหกรรมบริการและการขนส่ง
3 กำกับดูแลราคาพนักงานที่อยู่ในระดับเหมาะสม
5 ส่งเสริมการจัดขารายการใช้พลังงานที่ให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม