Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จริยธรรม จรรยาบรรณในการใช้ภาษาไทย - Coggle Diagram
จริยธรรม จรรยาบรรณในการใช้ภาษาไทย
ความหมายของคุณธรรมและจริยธรรม
จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติปฏิบัติที่มีธรรมะเป็นตัวกำกับ จริยธรรมก็คือ ธรรมที่เป็นไป ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม
จริยศาสตร์กับสีลธรรม และจริยธรรม
คำว่า “จริยศาสตร์” เป็นคำศัพท์สันสกฤต แยกออกได้เป็น 2 คำ คือ จริยะ แปลว่า ความประพฤติ และคำว่า ศาสตร์ แปลว่า ความรู้ หรือ วิชา
ประโยชน์ของจริยธรรม
มีความเพียรพยายามประกอบความดี
เป็นผู้ที่มีความ ซื่อสัตย์สุจริต และเมตตากรุณา
เป็นผู้มีสติปัญญา ไม่ประมาท
เป็นผู้ใฝ่หาความรู้ ความสามารถในการประกอบอาชีพ
มีความอุตสาหะ
มีความเสียสละไม่เห็นแก่ตัว
มีความสามัคคี
มีความรับผิดชอบ
มีความกตัญญูกตเวที
มีความประหยัด
มีความรู้จักพอ
มีความเป็นระเบียบวินัย
มีความอดทนอดกลั้น
มีความถ่อมตน
เคารพตนเอง
มีสติสัมปชัญญะ
ระดับชั้นของจริยธรรม
3 ระดับ ได้แก่
พุทธจริยศาสตร์ระดับต้น บัญญัติไว้เพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคม หลักธรรม คือ ศีล 5 ธรรม 5 ทิศ 6 เป็นต้น
พุทธจริยศาสตร์ระดับกลาง บัญญัติไว้เพื่อให้ทุกคนประพฤติปฏิบัติอบรมขัดเกลาตนเองให้มีคุณธรรมสูงขึ้น หลักธรรม คือ ศีล 5 กุศลกรรมบถ 10
พุทธจริยศาสตร์ระดับสูง เป็นจริยศาสตร์เพื่อพัฒนาตนเป็นอริยบุคคล หลักธรรม คือ มรรค 8
ริยธรรมมีลักษณะ
จริยธรรมมีลักษณะ 4 ประการ คือ
1.การตัดสินทางจริยธรรม(moral judgment) บุคคลจะมีหลักการของตนเอง เพื่อตัดสินการกระทำของผู้อื่น
2.หลักการของจริยธรรมและการตัดสินตกลงใจเป็นความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในตัวบุคคลก่อนที่จะปฏิบัติการต่าง ๆ ลงไป
3.หลักการทางจริยธรรมเป็นหลักการสากลที่บุคคลใช้ตัดสินใจในการกระทำสิ่งต่าง ๆ
4.ทัศนะเกี่ยวกับจริยธรรมได้มาจากความคิดของบุคคลหรืออุดมคติของสังคมจนเกิดเป็นทัศนะในการดำรงชีวิตของตน และของสังคมที่ตนอาศัยอยู่
ลักษณะของผู้มีจริยธรรม
3.ความซื่อสัตย์
ความซื่อสัตย์
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ความอดทน
มี 4 ลักษณะ คือ
– อดทนต่อความยากลำบาก เจ็บป่วย ได้รับทุกขเวทนาก็ไม่แสดงอาการจนเกินกว่าเหตุ
– อดทนต่อการตรากตรำทำงาน ไม่ทอดทิ้งงาน ฟันฝ่าอุปสรรคจนประสบผลสำเร็จ
– อดทนต่อความเจ็บใจ ไม่แสดงความโกรธ ไม่อาฆาตพยาบาท อดทนต่อคำเสียดสี
– อดทนต่อกิเลส
ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ประเทศชาติ
การไม่ทำบาป
ควรงดเว้นพฤติกรรมชั่วร้าย 3 ทาง คือ
– ทางกาย เช่น ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ทุจริต ไม่ลักขโมย ไม่ผิดประเวณี
– ทางวาจา เช่น ไม่โกหก ไม่กล่าวถ้วยคำหยาบคาย ไม่ใส่ร้าย ไม่พูดเพ้อเจ้อ
– ทางใจ เช่น ไม่คิดเนรคุณ ไม่คิดอาฆาต ไม่คิดอยากได้
ความสามัคคี
แนวคิดในการการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
การกำหนดทิศทางในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ผู้รับผิดชอบงานควรต้องคิดให้ครอบคลุมทั้งด้านคุณธรรมและจริยธรรม นั่นคือ หลักการคิดและวิธีการปฎิบัติที่ดีงาม ถูกต้อง ตามสภาพสังคม วัฒนธรรม