Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นาฏศิลป์, :fire: - Coggle Diagram
นาฏศิลป์
นาฏศัพท์
หมายถึง =ศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับลักษณะท่ารำฝึกหัด
แบ่งเป็น
กิริยาศัพท์
หมายถึง =คำศัพท์ที่ใช้ปฎิบัติออกท่าท่าง
แบ่งเป็น2
ศัพท์เสริม
คือ =ศัพท์ที่ใช้เรียกเพื่อปรับปรงท่ารำ
เช่น =ดึงเอว
ศัพท์เสื่อม
คือ =ศัพท์ที่ใช้เรียกท่ารำที่ไม่ถูกต้อง
เช่น =วงล้า
นาฏศัพท์เบ็ดเตล็ด
หมายถึง =ศัพท์ที่นอกเหนือจ่กศัพท์นาม
เช่น =จีบสั้น
นามศัพท์
หมายถึง =ศัพท์ที่ใช้เรียกชื่อท่ารำ
เช่น =จีบ
การแสดงนาฏศิลป์
3. รำ
การรำเดี่ยวคือการรำตามบทร้อง
การรำคู่ คือ การรำ2คน
เป็นศิลปะการแสดงที่มีตั้งแต่1-2คนขึ้นไป
4. ระบำ
ศิลปะการแสดงที่ใช้ตั้งแต่2คนขึ้นไป
ไม่แสดงเป็นเรื่องราวอาจมีบทขับร้อง
ซึ่งระบำแบบมาตราฐานมักประกอบด้วยวงปี่พาทย์
2. ละคร
ศิลปะการแสดง
มีเอกลักษณ์
มีทั้งละครของชาวบ้านและของหลวง
5. การแสดงพื้นเมือง
เหนือ
ลักษณะการฟ้อน
แบบได้รับอิทธิพลจากชนเผ่า
แบบคุ้มหลวง
แบบพื้นเมืองเดิม
มีเอกลักษณ์เฉพาะท่ารำที่แช่มช้า
เป็นศิลปะที่ผสมผสานละหว่างชนพื้นเมืองกับชนเผ่าต่างๆ
กลาง
เป็นลักษณะศิลปะการแสงที่สนุกสนาน
มีการบรรเลงขับร้องวงดนตรีพื้นบ้าน วงสะล้อ
การแสดงพื้นบ้านภาคกลางได้แก่ เต้นรำกำเคียว
ใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้านเช่นกลองยาว
อีสาน
เป็นศิลปะการแสดงคล้ายกัลภาคเหนือ
มีเอกลักษณ์เฉพาะของท่าทางการรำ
มีการแสดงเกิดขึ้นเพื่อพิธีกรรมทางศาสนา
แบ่ง 2 รูปแบบ
วัฒนธรรมอีสานเหนือ
วัฒนะรรมอีสานใต้
ใต้
ศิลปะการแสงมีลักษณะลื่นเริง
โดยมีลักษณะการแสงเป็นเอกลักษณ์
แบ่ง 2 กลุ่ม
ไทยมุสลิม
วัฒนธรรมไทยพุทธ
มีเครื่องดนตรีสำคัญ เช่นกลองโนรา
คือ=การแสดงศิลปะที่มีทั้งรำ ระบำหรือการเล่นละครตามสิ่งแวดล้อม
1. โขน
มี 5 ชนิด
โขนโรงนอก
โขนโรงใน
โขนหน้าจอ
โขนฉาก
โขนกลางแปง
คือ
ใช้ลีลาท่าทางการแสดงด้วยการเต้นบทพาก
เรื่องที่นิยมนำมาแสดง คือ รามเกียร์
เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทย
คือ =
มารยาทในการชมนาฏศิลป์
ลักษณะของผู้ชมที่ดี
ไม่วิจารณผู้แสดงขณะแสดง
ควรปรบมือทุกครั้งหลังการแสดงจบ
ให้ความสนใจ
ไม่ส่งเสียงโห่ร้อง
หลักการชมการแสดง
ผู้ชมควรเข้าใจเกี่ยวกับดนตรีและเพลงต่างๆ
ผู้ชมควรเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อร้องและภาษา
ผู้ชมควรเข้าใจในการแต่งกายของผู้แสดง
ผู้ชมควรเข้าใจเกี่ยวกับท่ารำ
เข้าใจเกี่ยวกับแสงสีเสียง
มารยาทในการรับชม
ผู้ชมควรไปก่อนเวลา
ไม่นำขนมขบเคี้ยวเข้าไปรับประทาน
แต่งชุดสุภาพเรียบร้อย
พัก่อน
การแสดงละครไทย
ละครแบบดั้งเดิม
1.ละครชาตรี
การแสดงละครชาตรีคล้ายกับละครทางมลายุ
ต่อมาในรัชกาลที่6มีการนำละครชาตรีมาผสมผสานกับละครนอก
ผู้แสดงเป็นเพียงชายมี3คน
นิยมแสดงเรื่องมโนรา
เป็นละครรำชนิดแรกที่เก่าแก่ี่สุดของไทย
3.ละครใน
เป็นละครที่เกิดในราชวัง
เดิมใช้ผู้หยิงแสดงพอถึงรัชกาลที่4ให้ผู้ชายแสดง
นิยมแสดง3เรื่อง
เป็นละครที่มุ่งเน้นร่ายรำ
ละครนอก
ผู้แสดงเป็นชายทั้งหมด
เป็นละครรำพัฒนามากจากละครชาตรี
ละครแบบพัฒนาชึ้นใหม่
ละครพูด
ร้อยกรอง
ละครดำเนินเรื่องด้วยคำพูดประเภทกลอน
พูดสลับลำ
ละครที่ดำเนินด้วยการพูดสลับร้อง
คำว่า ลำ มากคำว่าลำนำ
ร้อยแก้ว
ละครที่ดำเนินเรื่องด้วยการพูด
มีลักษณะเฉพาะคือเมื่อตัวละครคิดในใจจะป้องปากบอกคนดู
ละครร้อง
ละครร้องสลับพูด
ละครร้องล้วนๆ
ละครสังคีต
เป็นละครที่รัชกาล6ทรงคิดขึ้น
ละครสังคีตนิยมเลน คือ มิกาโด
ละครแบบปรับปรุง
ละครดึกดรรบรรพ์
ตัวละครจะต้องร้องและรำเอง
ชื่อละครดึกดรรบรรพ์เรียกตามโรงละครดึกดรรบรรพ์
เป็นละครที่เกิดในสมัยรัชกาลที่5
ละครพันทาง
การแสดงจะใช้ท่ารำไทยผสมผสานกับลีลาของต่างชาติ
เป็นละครที่เกิดขึ้นปลายรัชกาลที่4
เรื่องที่นำมาแสดงมาจากพงศาวดาร
ละครเสภา
นิยมใช้ผุ้ชายแสดง
ละครเสภาที่นิยม คือ ขุนช้างขุนแผน
เป็นละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาล5
ละครเสภามี2ประเภท
หมายถึง=การแสดงประเภทหนึ่งแสดงเกี่ยวกับเรื่องราวชีวิต
:fire: