Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างนวัตกรรมทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในสถานศึกษา - Coggle Diagram
การสร้างนวัตกรรมทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในสถานศึกษา
นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป
ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation)
ประเภทของวัตกรรม
ประเภทที่ 1 นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (product innovation)
ประเภทที่ 2 นวัตกรรมกระบวนการ (process innovation)
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยุค 4.0
นโยบายการจัดการทรัพยากรมนุษย์
การวางแผนกำลังคนขององค์การ
การสรรหาและคัดเลือก
การจ้างงานและผลตอบแทน
การฝึกอบรมและพัฒนา
การธำรงรักษาคนในองค์การ
เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุค 4.0
เทคโนโลยีการเก็บข้อมูลแบบออนไลน์
การใช้ประโยชน์จากสื่อสังคม (SocialMedia)
การประชุมทางวีดิทัศน์
เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ
บทบาทนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุค 4.0
ทำงานแบบมืออาชีพ
มีความยืดหยุ่นในการทำงาน
ต้องรู้จักการบริหารความหลากหลายของคนหลายกลุ่มในองค์การ
เรียนรู้แนวคิดด้านการตลาด
เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ อยู่เสมอ
มีความรู้เรื่องสื่อสังคม (Social Media)
มีทักษะด้านการวิเคราะห์ข้อมูลก่อนนำไปใช้
ส่งเสริมการพัฒนาคนในองค์การ
ปรับเปลี่ยนแนวคิดในการคัดเลือกคนให้องค์การ
ปรับระบบการจ้างงานให้เหมาะสมกับองค์การ
แนวทางการสร้างนวัตกรรมในงานบริหารทรัพยากรมนุษย์
กลุ่มที่ 1 นวัตกรรมด้านการสรรหาและคัดเลือก
กลุ่มที่ 2 นวัตกรรมการฝึกอบรมและพัฒนา
กลุ่มที่ 3 นวัตกรรมด้านค่าตอบแทนและพนักงานสัมพันธ์
กลุ่มที่ 4 นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์
5 ขั้นตอนการจัดกระบวนการสรรหาและเลือกสรรบุคลากร
การวางแผนการสรรหาและเลือกสรร
การกำหนดคุณลักษณะของบุคคล
การสรรหาโดยเน้นให้ผู้ที่มีคุณสมบัติตามประกาศรับสมัคร
การเลือกสรร เป็นกระบวนการพิจารณาความแตกต่างระหว่างบุคคล
การติดตามและประเมินผล
นวัตกรรมด้านการสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์
ในยุค HR 4.0
Social Media Recruiting – การสรรหาทรัพยากรมนุษย์ผ่านโซเชี่ยลมีเดีย
Recruitment Marketing – การตลาดเพื่อการสรรหาทรัพยากรบุคคล กลยุทธ์ในการสรรหาที่จะสื่อสารอย่างไรให้โดน ใจ ใช้สื่อไหนให้เหมาะสม หรือคิดสร้างสรรค์กระบวนการสรรหาแปลกใหม่ที่จูงใจ ให้คนอยากเข้ามาร่วมสมัครงานด้วย
Employer Branding – การสร้างแบรนด์ลักษณะนายจ้างให้เป็นที่จดจำ
Specific Experience – ประสบการณ์พิเศษเฉพาะด้าน / ประสบการณ์เฉพาะกิจ
New Value Benefit – คุณค่าสวัสดิการในรูปแบบใหม่ ๆ
นวัตกรรมด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการฝึกอบรม (Training)
กระบวนการในการจัดฝึกอบรม ควรมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่1 สำรวจและวิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรม
ขั้นตอนที่2 วางแผนและพัฒนาการฝึกอบรม
ขั้นตอนที่3 การเลือกเทคนิคการฝึกอบรม
ขั้นตอนที่4 ดำเนินการฝึกอบรม
ขั้นตอนที่5 ติดตามและประเมินผลการฝึกอบรม
นวัตกรรมการฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคดิจิทัล
เป็นการฝึกอบรมโดยใช้ระบบออนไลน์ ให้บุคลากรสามารถ เรียนรู้ได้ ทุกที่ ทุกเวลา
นวัตกรรมด้านค่าตอบแทนและพนักงานสัมพันธ์ (Innovative Compensation & Employee Relation)
ไม่มุ่งเน้นการจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินอย่างเดียว
ลดเวลาการทำงานลง
จัดช่วงเพชฌฆาตความเครียด เพื่อเปลี่ยนบรรยากาศการ ทำงานที่ตึงเครียด
4 วิธีการเตรียมแผนสร้าง Future Workforce สำหรับ HR ยุค Post-Covid19
ทำความรู้จัก Contingent Workforce
หาผู้เชี่ยวชาญด้าน Organization Transformation หรือ Organizational Design
เตรียมกำหนด Talent Pipeline
อย่าพัฒนาแต่ Hard Skills
นวัตกรรมด้านค่าตอบแทนและพนักงานสัมพันธ์
เงินเดือน
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
โบนัส
นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้านทรัพยากร มนุษย์ (Human Resource Information System)
ระบบงานวางแผนกำลังคน (Man Power Planning)
ระบบงานทะเบียนประวัติ(Central Database)
ระบบการตรวจสอบเวลา (Time Attendance) การตรวจสอบเวลาและสถานที่ทำงาน
ระบบงานด้านการคำนวณเงินเดือน (Payroll)
ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Evaluation)
ระบบงานพัฒนาและฝึกอบรมบุคลากร (Training and Development)
ระบบงานสวัสดิการต่าง ๆ (Welfare)
ระบบการสรรหาบุคลากร (Recruitment)
ระบบการลา
ปัจจัยและความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์และนวัตกรรม
วิสัยทัศน์ร่วม ผู้นำและการมุ่งไปสู่นวัตกรรม
โครงสร้างองค์การที่เหมาะสม
บุคลากรที่มีความสำคัญ
การฝึกอบรมและพัฒนา
การมีส่วนร่วมในนวัตกรรม
ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ
บรรยากาศที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ปัจจัยภายนอก
การขยายการสื่อสาร
องค์การแห่งการเรียนรู้
การสร้างนวัตกรรมทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในสถานศึกษา
Human Resource
Digital and Technoly Mechanism and system support
Productivity