Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คำราชาศัพท์, ๑ พระมหากษัตริย์, ๑ ใช้คำว่า พระบรม หรือ พระบรมราช…
คำราชาศัพท์
หมายถึง
ศัพท์หลวง ศัพท์ราชการ และหมายรวมถึงคำสุภาพซึ่งนำมาใช้ให้ถูกต้องตามชั้นหรือฐานะของบุคคล
ข้อสังเกต
การใช้คำราชาศัพท์
การใช้คำว่า
ทรง
ใช้
ทรง
ตามด้วยคำนาม มีความหมายถึง กษัตริย์เทพเจ้า
เช่น ทรงธรรม ทรงชัย ทรงฉัตร หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน
ใช้
ทรง
นำหน้าคำนาม จะบอกให้ทราบว่า สิ่งนั้นเป็นของพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศานุวงศ์ เช่น เครื่องทรง รถพระที่นั่งทรง ม้าทรง
ใช้
ทรง
ตามด้วยนามราชาศัพท์ เช่น ทรงยินดี ทรงฟัง ทรงนิ่ง
ถ้าคำนามข้างหน้าเป็นราชาศัพท์
ไม่ต้องใช้ทรง
เช่น เป็นพระราชโอรส มีพระบรมราชโองการ
ถ้าคำนามข้างหลังเป็นคำสามัญ
ต้องใช้ทรง
เช่น ทรงเป็นประธาน ทรงมีทุกข์
จำแนกเป็น ๕ ประเภท
คำราชาศัพท์แบ่งได้ ๖ หมวด
๓ หมวดเครื่องใช้
๑ หมวดร่างกาย
๖ หมวดคำที่ใช้กับพระสงฆ์
๔ หมวดกริยา
๒ หมวดเครือญาติ
๕ หมวดสรรพนาม
๑ พระมหากษัตริย์
๒ พระบรมวงศานุวงศ์
๓ พระสงฆ์
๔ ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง
๕ สุภาพชนทั่วไป
๑ ใช้คำว่า
พระบรม
หรือ
พระบรมราช
นำหน้าคำนามที่สำคัญ
เช่น พระบรมราชโองการ พระบรมราชูปถัมภ์
๒ ใช้คำว่า
พระราช
นำหน้าคำนามที่ใช้เฉพาะพระมหากษัตริย์ซึ่งต้องการกล่าวไม่ให้ปนกับพระบรมวงศานุวงศ์ เช่น พระราชประวัติ พระราชดำริ
๓ ใช้คำว่า
พระ
นำหน้าคำนามทั่วไปเพื่อให้แตกต่างจากสามัญชน เช่น พระเก้าอี้ พระตำหนัก
๔ ใช้คำว่า
พระ
นำหน้าคำนามทั่วไปเพื่อให้แตกต่างจากสามัญชน
ยกเว้น
เช่น ฉลองพระเนตร หมายถึง แว่นตา
ฉลองพระองค์ หมายถึง เสื้อผ้า
พระฉายา หมายถึง เงา พระพักตร์ หมายถึง หน้า
พระองคุลี หมายถึง นิ้วมือ
พระมเหสี หมายถึง ภรรยา พระอนุชา หมายถึง น้องชาย
พระอัยกา หมายถึง ปู่ ย่า
ฉลองพระบาท หมายถึง รองเท้า พระสาง หมายถึง หวี
พระแท่นบรรทม หมายถึง เตียงนอน
ทรงพระกาสะ หมายถึง ไอ ทอดพระเนตร หมายถึง ดู
ทรงพระสรวล หมายถึง หัวเราะ
ข้าพระพุทธเจ้า ใช้แทนชื่อผู้พูด พระคุณเจ้า ใช้แทนผู้ที่พูดด้วย
ท่าน ใช้แทนผู้ที่พูดถึง
สรงน้ำ หมายถึง อาบน้ำ อาราธนา หมายถึง เชิญ
ปลงผม หมายถึง โกนผม