Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Viral Diseases - Coggle Diagram
Viral Diseases
:<3:Viral Diseases
:star:โรคไข้เลือดออก (Dengue Fever)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Dengue fever virus (DENV)
การติดต่อ : พาหะนำโรค คือ ยุงลายบ้าน
ระยะฟักตัว : 3-14 วัน (ส่วนใหญ่ประมาณ 4-7 วัน)
อาการ : จำแนกตามลักษณะความรุนแรง ดังนี้
1) Dengue fever, DF คือ ไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ/ปวดกระดูก มีผื่น หรือจุดเลือดออก
2) Dengue hemorrhagic fever, DHF คือ ไข้สูงลอยเป็นประมาณ 2-7 วัน มีจุดเลือดออก ตับโต และมี
อาการเปลี่ยนแปลงทางระบบไหลเวียนโลหิต จนเกิดภาวะช็อกได้ และมีการรั่วของพลาสมา
3) Dengue Shock Syndrome, DSS คือ DHF ร่วมกับมีภาวะช็อก โดยมีอาการร่วมคือ ชีพจรเบาเร็ว และมีการเปลี่ยนแปลงของความดันเลือด
ยุงชอบกัดคนประเภทไหน
คนที่มีเหงื่อออกมาก
คนที่ตัวร้อน (อุณหภูมิบริเวณผิวหนังสูง)
ผู้หญิง มากกว่าผู้ชาย เพราะฮอร์โมนแตกต่างกัน
คนที่ใส่เสื้อผ้าสีเข้ม
เด็ก มากว่าผู้ใหญ่ เพราะกลิ่นและลักษณะผิวหนัง
คนที่หายใจแรง เพราะคาร์บอนไดออกไซต์เป็นตัวดึงดูดยุง
:star: โรคไวรัสตับอักเสบ (Hepatitis Virus)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Hepatitis virus
คือเชื้อไวรัสที่ทำให้มีการอักเสบของเซลล์ตับมีหลายชนิดได้แก่ เอ บี ซี ดี และ อี
โรคตับอักเสบ A คือ ?
เป็นโรคไวรัสตับอักเสบชนิดที่หนึ่งที่ติดต่อทางอาหารหรือ น้ำดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อ
อาการ
อ่อนเพลีย
คลื่นไส้อาเจียน จุกแน่นชายโครงขวา
ปัสสาวะเข้ม ตาเหลือง
การวินิจฉัย
ตรวจเลือด
ตรวจ PCR พบไวรัส RNA
การป้องกัน
กินร้อน ใช้ช้อนกลาง,ล้างมือบ่อยๆ
ดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง
ฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบเอ
โรคไวรัสตับอักเสบ B
-ใช้ของส่วนตัวที่เปื้อนเลือด ร่วมกับผู้อื่น
-มีคนในครอบครัวติดเชื้อ
-ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
-ติดเชื้อ HIV
-เคยมีเพศสัมพันธุกับผู้ป่วยไม่ใส่ถุงยางอนามัย
-ใช้เข็มร่วมกับผู้อื่น
ไม่ติดต่อทางใดได้บ้าง
-ทางลมหายใจ
-ให้นมบุตร
-อาหารและเครื่องดื่ม
-ทางจมูก (ถ้าปากไม่มีแผล)
อาการ
-อ่อนเพลีย
-เบื่ออาหาร
-คลื่นไส้ อาเจียน
-ตาเหลือง
-ปัสสาวะเข้ม
โรคตับอักเสบ C (อาการรุนแรงสุด)
กลุ่มเสี่ยง
-ทารกที่ได้รับเชื้อจากมารดาขณะคลอด
-ผู้ที่เคยได้รับเลือด
-ผู้ที่เคยเจาะ สัก
-ผู้ป่วยติดยาเสพติด (ที่มีการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน)
-เพศสัมพันธ์
อาการ
-ตับแข็ง -ท้องโต ขาบวม ตาเหลือง
-ตักอักเสบเรื้อรัง -ไม่มีอาการแต่ตรวพบการทำงานของตับผิดปกติ มีตับอักเสบ
-ตับอักเสบเฉียบพลัน - อ่อนเพลีย คลื่นไส้ จุกแน่นชายโครงขวา ปัสสาวะเข้ม
-มะเร็งตับ - ท้องโต คลำได้ก้อนที่ชายโครงขวา น้ำหนักลด
การวินิจฉัย
-ตรวจคัดกรองเบื้องต้นพบเชื้อ
-ตรวจหา DNA ของเชื้อไวรัสตับอักเสบ c และตรวจสายพันธุ์ เพื่อการรักษาต่อไป
การป้องกัน
-ไม่ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
-ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์
การรักษา
ฉีดยาอินเตอร์เฟอร์รอนร่วมกับการกินยาต้านไวรัส
กินยาต้านไวรัส
:star: โรคมือ เท้า ปาก (Hand Foot Mouth Disease) (HFMD)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Coxsackie virus
เป็นโรคที่ไม่รุนแรง เรียกว่า mild disease
อาการ : มีผื่นและตุ่มน้ำใส (หายได้เองในเวลา 5 - 7 วัน หรือไม่เกินสองสัปดาห์)
การติดต่อ : fecal-oral transmission
สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส2ชนิด
คอกซากีไวรัส เอ16 (Coxsackievirus A16)
-พบบ่อย อาการไม่รุนแรง หายได้เอง
เอนเทอโรไวรัส 71 (Enterovirus 71)
-พบไม่บ่อย มีอาการรุนแรง
พบการระบาดมากในฤดูฝน มักเป็นบ่อยในทารก และเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ
อาการ
มีแผลในปาก
มีตุ่มแดงบนฝ่ามือ ฝ่าเท้า ลำตัว
มีไข้
การป้องกัน
รักษาสุขอนามัย กินอาหารร้อน ใช้ช้อนกลาง หมั่นล้างมือ ไม่ใช้ภาชนะร่วมกัน
แยกเด็กที่เป็นโรค หรือหยุดเรียน เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ
ทำความสะอาดสถานที่ สิ่งของเครื่อลใช้ หรือของเล่น ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
:star:โรคเอดส์ (AIDS)
เชื้อมีความจำเพาะ : เซลล์เม็ดเลือดขาว และcell ระบบประสาท ได้ดีกว่า cell อื่น
ระยะแรก จะไม่ค่ยออกอาการมาก อยู่ในภาวะเริ่มติดเชื้อ
ระยะที่ 2 เริ่มมีตุ่มขึ้นตามร่างกาย มีเชื้อราในช่องปาก เป็นงูสวัด
ระยะที่ 3 เป็นโรคเอดส์และมีการติดเชื้อฉวยโอกาส เช่น เชื้อราขึ้นสมอง วัณโรค
สรุป ก็คือระยะที่1 และ2 ของการติดเชื้อไวรัส HIV ยังไม่เรียกว่าเป็นโรคเอดส์ เราจะเรียกระยะที่3 ของการติดเชื้อว่าเป็นโรคเอดส์เท่านั้น
HIV (เชื้อ)
Human Immunodeficiency Virus
เชื้อไวรัสที่จะเข้าไปทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว
ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
AIDS (โรค)
Acquired Immune Deficiency Syndrome
กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันบกพร่อง เนื่องจากการติดเชื้อ
HIV ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ เมื่อภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายถูกเชื้อ HIV ทำลาย ไม่สามารถต้านทานเชื้อโรค
ที่จะเข้าสู่ร่างกายได้
HIV / AIDS is transmitted
UNPROTECTED SEX
DRUG ADDICTS
BLOOD TRANSFUSION
PREGNANCY
NON-STERILE INSTRUMENTS
HIV / AIDS is not transmitted
TOUCHING
THROUGH FOOD
WITH A KISS
INSECT BITES
IN THE POOL
:star: โรค HPV
ไวรัสมะเร็งปากมดลูก
HPV คืออะไร
Human papilloma virus
ติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์
หูดที่ผิวหนัง (หูดหงอนไก่)
มะเร็งร้าย
สายพันธ์ุ กว่า 100 ชนิด
เชื้อ HPV ติดต่อได้อย่างไร ?
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โดยการสัมผัสใกล้ชิด
แพร่กระจายจากการสัมผัสผิวหนังสู่ผิวหนัง
โดยเฉพาะการมีเพศสัมพันธ์
พฤติกรรมเสี่ยง
คนที่มีคู่นอนหลายคน
คนที่มีแฟนเจ้าสู้
เริ่มมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย
ผู้ชายที่ไม่ได้ขลิบอวัยวะเพศ
การใช้นิ้วหรืออุปกรณ์ช่วยตัวเอง
สังเกตอาการเมื่อติดเชื้อ
การติดเชื้อเอชพีวีไม่แสดงอาการ เมื่อมีอาการมักเป็นมะเร็งระยะลุกลามแล้ว
ตกขาวผิดปกติ มีเลือดออกเวลามีเพศสัมพันธ์
วิธีป้องกัน
ไม่ควรมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมวันไนท์สแตน
ถุงยางอนามัยสำคัญ
ฉีดวัคซีนป้องกัน
ความสะอาดเป็นสิ่งสำคัญ
:star: โรคไข้ซิก้า (Zika Fever)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Zika virus
อาการ
ส่วนใหญ่ป่วยแล้วหายเองได้ มีอาการไข้ ผื่น ตาแดง หรือปวดข้อ อาการเหล่านี้ทุเลาลง ภายในเลวา 2-7 วัน หากได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที ยกเว้น หญิงมีครรภ์ อาจกระทบทารกในครรภ์ มีความเสี่ยงสูง ทำให้ศีรษะเล็กตั้งแต่แรกเกิด
การติดเชื้อไวรัสซิกาในคุณแม่ตั้งครรภ์ มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดในทารก
:star:โรคชิคุนกุนยา (Chikungunya)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Chikungunya virus, CHIK V
หญิงตั้งครรภ์เสี่ยง ไข้ซิกา ยุงลายเป็นพาหะ
อาการ - มีไข้ ออกผื่น ตาแดง ปวดข้อ ปวดหลัง
อาการร่วม- อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ต่อมน้ำเหลืองโต อุจจาระร่วง
กลุ่มเสี่ยง - หญิงตั้งครรภ์ ทำให้เกิดมามีสมองเล็ก
ป้องกัน - ป้องกันไม่ให้ยุงกัน ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย
รักษา - ปัจจุบันไม่มีวัคชีนป้องกันโรคโดยเฉพาะ รักษาตามอาการ กินยาพาราเซตามอลเพื่อลดไข้ ห้ามกินยาแอสไพรินหรือยสาอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
:star: Rota Virus
โรต้า เป็นชื่อของไวรัส สาเหตุของโรคอุจจาระร่วง ในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ขวบ
ไวรัสโรต้า คือ เชื้อโรคที่ติดต่อผ่านการรับเชื้อเข้าทางช่องปากทำให้มีอาการท้องร่วงอย่างรุนแรง
อาการของโรค
มีไข้สูง
อาเจียน
ท้องเสีย ถ่ายเหลว 3 ครั้ง/วัน หรือมากกว่า
ในรายที่รุนแรงมากอาจขาดน้ำ
หากรักษาไม่ทันอาจช็อกและเสียชีวิตได้
วิธีการป้องกันไวรัสโรต้า
ดูแลความสะอาด เครื่องใช้ ของเล่น
รักษาความสะอาดของอาหาร และเครื่องดื่ม
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคตามระยะเวลาที่แพทย์กำหนด
:star: RSV
Respiratory Syncytial Virus
ไวรัส RSV ภัยร้ายหน้าฝน การเจ็บป่วยของเด็กที่ได้รับไวรัส RSV มักพบในเด็กเล็ก โยเฉพาะเด็กอายุน้อยกว่า 2 ขวบ
อาการ
มีเสียงหวีดในปอด
มีเสมหะมาก ไอแรง
เหนื่อยหายใจลำบาก
วิธีการป้องกัน
ล้างมือบ่อยๆ
ทำความสะอาดของเล่น
ใส่หน้ากากอนามัย
ห้ามคนอื่นหอม-สัมผัสลูก
ดูแลร่างกายให้อบอุ่นเสมอ
:star: 12 โรคติดต่อ แค่กินน้ำแก้วเดียวกันก็ติดได้
ไข้หวัด ผ่านน้ำมูก
โรคคอตีบ ผ่านน้ำมูก น้ำลาย
เริมที่ปาก การดื่มน้ำหรือกินอาหารร่วมกัน
ไอกรน ผ่านน้ำมูก ทางการหายใจ ไอ จามรดกัน
คางทูม ผ่านน้ำมูก น้ำลาย ทางกายหายใจ
โรคหัด ผ่านน้ำมูก น้ำลาย ทางกายหายใจ
หัดเยอรมัน ผ่านน้ำมูก น้ำลาย ทางกายหายใจ ไอ จามรดกัน
อีโบลา การสัมผัสสารคัดหลั่ง
ไข้หวัดใหญ่ ผ่านน้ำมูก น้ำลาย ทางกายหายใจ
โรคซาร์ส ผ่านน้ำมูก น้ำลาย การหายใจ
มือเท้าปาก เชื้อที่มือหรือของเล่นที่เปื้อนน้ำลาย น้ำมูก
ไวรัสตับอักเสบ A และ E น้ำมูก น้ำลาย สารคัดหลั่งผู้ป่วยที่ปนเปื้อนอยู่ในอากาศ อาหาร น้ำ และของใช้
:<3:Viral Diseases
:star: โรคโปลิโอ (Poliomyelitis)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Polio virus
การติดต่อ : การกิน หรือสูดดมเอาเชื้อเข้าไป
ในร่างกาย
ระยะฟักตัว : ประมาณ 7-14 วัน
อาการ : > 90% ของผู้ติดเชื้อโปลิโอ ไม่
แสดงอาการ (แพร่เชื้อทางอุจจาระ)
-บางรายมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเพียง
เล็กน้อย แล้วหายเป็นปกติดี
-ส่วนน้อยจะพิการ หรือเสียชีวิต
การป้องกัน : ฉีดวัคซีน OPV (Oral Polio
Vaccine) โดยการหยดทางปาก
:star: โรคสุกใส (Chicken Pox)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Varicella - Zoster virus (VZV)
การติดต่อ : ทางน้ำมูก น้ำลาย และแผลที่ผิวหนัง
ระยะฟักตัว : ประมาณ 14-16 วัน (แพร่เชื้อช่วงก่อนมีอาการ 2 วัน)
ต้นฤดูหนาว ในช่วงอากาศเย็นระหว่างเดือนตุลาคมเป็นต้นไป
ระบาดได้ง่ายในอากาศเย็น เช่น โรงเรียน สถานรับเลี้ยงเด็ก
ซึ่งเป็นเชื้อเดียวกันกับการเกิดโรคงูสวัด
:!: ข้อควรระวัง
ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพรินเพราะจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายได้
:star: โรคงูสวัด (Herpes Zoster, Shingles)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Varicella - Zoster virus (VZV)
เชื้อซ่อนตัวอยู่ที่ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง (Dorsal root ganglion)
เป็นตุ่มใสตามแนว dermatome (แนวเส้นประสาทของผิวหนัง)
เคยเป็นสุกใสมาก่อน
อาการของโรคงูสวัด
ปวดแสบร้อนบริเวณผิวหนัง
ผื่นแดงขึ้นตรงบริเวณที่ปวดแล้วกลายเป็นตุ่มน้ำใส
อาการแทรกซ้อน
ปวดตามแนวเส้นประสาทหลังการติดเชื้อ พบบ่อยในผู้ป่วยอายุ 50ปี ขึ้นไป
การติดเชื้อแบคทีเรียเนื่องจากการดูแลไม่ถูกวิธี
อาจมีภาวะแทรกซ้อนทางหูและตาอักเสบ
การป้องกันโรคงูสวัด
ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันโรคงูสวัด
:star: โรคเริม (Herpes Simplex)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Herpes simplex virus (HSV)
1) อาการเริมบริเวณฝีปาก :
เชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายประมาณ 6-8 วัน ิวบริเวณนั้นเกิดตุ่มน้ำพองใสเป็นกลุ่มๆ กลุ่มละ 2-10 เม็ด (ระยะติดต่อ)
2) อาการเริมบริเวณอวัยวะเพศ :
มีอัตราการติดต่อสูง โดยมักติดต่อทางเพศสัมพันธ์
อาการรุนแรงในช่วงการติดเชื้อครั้งแรก
เกิดอาการหลังได้รับเชื้อประมาณ 2-3 วัน ถึง 3 สัปดาห์
ปวดแสบปวดร้อน ระคายเคืองบริเวณที่จะเกิดตุ่มแผล
ปวดศีรษะ เป็นไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ผ่านไป 10 วัน จะมีตุ่มใสๆ เกิดขึ้นและมีอาการเจ็บปวดมาก
:star: โรคหัด (Measles, Rubeola )
เชื้อไวรัสก่อโรค : Rubeola virus
การติดต่อ : ทางลมหายใจ (ติดต่อง่ายโดยการไอ / จาม) / การสัมผัสน้ำมูก
ระยะฟักตัว : 9-12 วัน (บางรายนานถึง 21 วัน)
การป้องกัน : ฉีดวัคซีน MMR (Measles, Mumps and Rubella vaccine)
อาการ
ตาแดง
มีไข้ ไอ มีน้ำมูก
มีผื่นแดง มักจะเริ่มที่หน้า และกระจายไปตามส่วนต่างๆ
เป็นได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เกือบครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยมีอายุน้อยกว่า 10 ปี
:star: โรคหัดเยอรมัน (German Measles, Rubella)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Rubella virus
การติดต่อ : การไอ จาม หายใจรดกัน
ระยะฟักตัว : 14-21 วัน
การป้องกันโรค : ฉีดวัคซีน MMR
กลุ่มเสี่ยง
สตรีมีครรภ์ จะเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์
เด็กที่ยังฉีดวัคซีนไม่ครบ
ผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
:star: โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Rabies virus
การเกิดโรค : โรคกลัวน้ำ (hydrophobia)
การติดต่อ : น้ำลายของสัตว์ที่ติดเชื้อ
ระยะฟักตัว : ประมาณ 2-8 สัปดาห์
** อาจสั้นเพียง 5 วัน หรือยาวนานเกินกว่า 1 ปี
สุนัขกัด ต้องล้างแผล
ใส่ยา กักหมา หาหมอ
ฉีดวัคซีนให้ครบชุด
ระยะอาการ แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะที่1
คน: 2-3 วัน มีไข้ คล้ายไข้หวัด เบื่ออาหารคันแผล
สัตว์: 2-3 วัน อารมณ์เปลี่ยน ดุร้ายหรือซึมเศร้า
ระยะที่ 2
คน: 3-7วัน มีอาการทางประสาท คลุ้มคลั่ง กลัวน้ำ กลัวลม ความรู้สึกไว
สัตว์: 1-7 วัน กระวนกระวาย ลิ้นห้อย น้ำลายไหล
ระยะที่ 3
คน: 1-7 วัน อัมพาต หานใจกระตุก คลุ้มคลั่งตาย
สัตว์: 1-10 วัน อัมพาต ตาย
:star: โรคคางทูม (Mums)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Mumps virus
การติดต่อ : ติดต่อโดยตรงทางการหายใจ และสัมผัสน้ำลายของผู้ป่วย เช่น การดื่มน้ำ และอาหารที่ใช้ภาชนะร่วมกัน
ระยะฟักตัว : 14-25 วัน
เชื้อเข้าไปเพิ่มจ านวนในเยื่อบุทางเดินหายใจ และต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียง
เข้าสู่กระแสเลือด ไปยังอวัยวะต่าง ๆ เช่น ต่อมน้ำลาย ตับอ่อน อัณฑะ รังไข่ และเยื่อหุ้มสมอง >> อักเสบ บวม แดง
มีอาการไข้คล้ายไข้หวัด ประมาณ 2-3 วัน และมีอาการเจ็บบริเวณหน้าหูร่วมกับอาการบวม
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ คือ ภาวะตับอ่อนอักเสบ และถุงอัณฑะอักเสบในเด็กผู้ชาย
การป้องกัน : ฉีดวัคซีน MMR
:star: โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Influenza virus
แบ่งเป็น 3 type :
Influenza virus A (ติดเชื้อในคน และสัตว์ : ม้า สุกร นก ไก่)
Influenza virus B (ติดเชื้อในคน)
Influenza virus C (ติดเชื้อในคน)
:red_flag: ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ A
โรคฮิตของเด็ก อันตรายถึงชีวิตหากไม่ป้องกัน
อาการป่วย
มีไข้สูง
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
มีน้ำมูกใส ไอแห้งๆ เบื่ออาหาร
การแพร่เชื้อ
แพร่กระจายโดยการไอ หรือจามรดกัน การสัมผัสสิ่งของ เครื่องใช้ร่วมกัน โดยเชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทาง จมูก ตา ปาก
ไข้หวัดใหญ่ VS ไข้หวัด
ต่างกันอย่างไร
อาการ ไข้สูงกว่า 39 องศาเซลเซียส อ่อนเพลีย ไม่อยากกินอาหาร ปวดเมื่อตัว หนาวสั่น อาเจียนหรือท้องเสีย
ไข้หวัดจะไม่พบอาการดังกล่าว
ไข้หวัดใหญ่จะพบอาการดังกล่าว
:<3: Bacteria VS. Virus
:star: Bacteria
Strep throat
Tuberculosis
Whooping cough
UTI
:red_flag: Antibiotics?
YES
:star: BOTH
Bronchitis
Ear infection
Sinus infection
:red_flag: Antibiotics?
MAYBE
:star: VIRUS
Common cold
Flu
Sore throat
:red_flag: Antibiotics?
NO
:<3:การเพาะเลี้ยงไวรัส
ไวรัสเจริญในเซลล์สิ่งมีชีวิตเท่านั้น
วิธีการเพาะเลี้ยงไวรัสที่ง่ายและประหยัด คือ
เลี้ยงไวรัสในไข่ไก่ที่ได้รับการผสมแล้ว (chick embryo) :
ไข่ไก่ฟักมีอายุ 5-12 วัน
ฉีดไวรัสผ่านเปลือกไข่เข้าไป ปิดรูด้วยขี้ผึ้ง พาราฟิน
บ่มไข่ไก่ที่ 36 องศาเซลเซียส
เลี้ยงในเซลล์เพาะเลี้ยง (Cell culture) : เนื้อเยื่อ ตับ ไต ปอด ผิวหนัง กล้ามเนื้อ จากหนู ลูกไก่ ลิง คน
เลี้ยงไวรัสในสัตว์ทดลอง : ลิง หนูแฮมสเตอร์ ลูกหนูขาว กระต่าย หนูตะเภา
:<3: ลักษณะของเชื้อไวรัส
:star: ไวรัส (Virus)
จุลินทรีย์ที่สามารถทำให้เกิดการติดเชื้อได้ (infectious agents)
กลไกการเพิ่มจำนวนของไวรัส ที่เรียกว่า replication
ไวรัสมีโครงสร้างและส่วนประกอบง่าย ๆ ไม่มีmetabolism
ไม่มี organelle
ต้องอาศัยการทำงานจาก host cell
มี nucleic acid เพียงชนิดเดียว (DNA หรือ RNA)
เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก (20-250 นาโนเมตร)
เพิ่มจำนวนโดยอาศัยกลไกของสิ่งมีชีวิตที่ไวรัสเข้าไปอยู่
ไม่ถูกทำลายโดยยาปฏิชีวนะ แต่ใช้ interferon (IFN) หรือ antiviral drug
การติดเชื้อไวรัส ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ บน host cell เช่น
ทำให้เซลล์ตาย
มีการรวมตัวของเซลล์
ทำให้เซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ (transformation) กลายเป็นเซลล์มะเร็งได้
:<3: โครงสร้างของไวรัส
:star: ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ
nucleic acid / genome
DNA viruses / RNA viruses
หน้าที่ >> ตัวนำรหัสพันธุกรรมที่จำเป็นต่อ
การเพิ่มจำนวนของไวรัส
หน้าที่ >> ควบคุม metabolism ของเซลล์
2.Capsid
ชั้นของโปรตีนที่ห่อหุ้มกรดนิวคลีอิก
หน้าที่ >> ช่วยปกป้อง genome ของไวรัส
จากการถูกทำลายด้วยสิ่งแวดล้อมภายนอก
เช่น enzyme
หน้าที่ >> ช่วยในการเกาะติดกับ cell host
Envelope
ช่วยในการงอก หรือหลุดออก (budding) จากเซลล์ และ
ช่วยให้เข้าสู่อีกเซลล์หนึ่งได้ โดยทำให้เกิด infection