Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
สรีรวิทยาของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ไต (Kidneys)
เป็นอวัยวะที่สำคัญในระบบขับถ่ายปัสสาวะ
หน้าที่การทำงานของไต คือ
การรักษาสมดุล (Homeostatic function)
Water, Electrolyte, and Acid-Base balance
การควบคุมสมดุลของกรด-ด่างในน้ำเลือด
การหลั่งฮอร์โมน (Endocrine (hormonal) secretory function)
Renin (JG cells), Erythropoietin (Renal cortex), and Prostaglandins
เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง
การขับถ่าย (Execratory function)
Metabolites, Drugs, and Toxins
สร้างน้ำปัสสาวะซึ่งเกิดจากการกรองเลือดที่ไต
การสังเคราะห์ฮอร์โมน (Endocrine (hormonal) metabolic function)
ทำหน้าที่ผลิตวิตามินดีที่ทำงานได้ Vitamin D3 →Active 1,25 Dihydroxycholocalciferal
เพื่อช่วยในการดูดซึมแคลเซียมอิออนที่ผนังลำไส้เล็ก
การควบคุมการทำงานของไต (Renal autoregulation)
Renal blood flow
GFR
Tubular flow
Macula densa cells (Na+ sensor)
Juxtaglomerular cells (Renin secretion)
Afferent arteriole
หน่วยไต (Nephron)
การทำงานของหน่วยไต
การดูดกลับ (Reabsorption)
Proximal tubule
Glucose
Thin descending limb
H2O
Thick Ascending limb
Na+, K+, Cl-
Distal tubule
Na+,Cl-, HCO3-,H2O
Collecting duct
H2O, Urea
การหลั่ง (Secretion)
Loop of Henle
Urea
Distal tubule
K+
Proximal tubule
Urea, Uric acid
การขับถ่าย (Excretion)
ปริมาณปัสสาวะ↓→ ความเข้มข้นปัสสาวะ↑
ปริมาณปัสสาวะ↑→ ความเข้มข้นปัสสาวะ↓
การกรอง (Filtration)
Renal blood flow
Glomerular filtration
Filtration barrier
Flow to Proximal tubule
Fluid: Glomerular filtrate
คุณสมบัติของสารที่ผ่าน Glomerular Filtration Barrier
สารที่มีประจุบวก
มีขนาดเล็ก น้อยกว่า หรือเท่ากับ 70 kDa
อัตราการกรองของไต (Glomerular filtration rate, GFR) ≈ 125 ml/min (180 liters/day)
ท่อไต (Renal Tubules)
การทำงานของท่อไต
Glomerulus
Proximal tubule
Thin descending limb
Loop of Henle
Thick Ascending limb
Distal tubule
1 more item...
การไหลเวียนเลือดของระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Blood Supply of the Kidneys)
Abdominal aorta
Renal artery
Afferent arteriole
Glomerulus (Capillaries)
Efferent arteriole
Peritubular capillaries and Vasa recta
Renal vein
Peritubular capillaries and Vasa recta
ไต และการควบคุมน้ำ
กรองน้ำ ควบคุมน้ำ และกำจัดของเสียออกจากร่างกาย
ไต และการสมดุลกรด-ด่าง
ควบคุมสมดุลน้ำ และเกลือเเร่ในร่างกาย ตลอดจนควบคุมภาวะกรดด่างในเลือด
ไต และอิเล็กโทรไลต์
มักเกิดขึ้นเพราะร่างกายสูญเสียน้ำผ่าการอาเจียนที่ยาวนาน ท้องเสีย หรือเหงื่อออก
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ดังนี้
หลอดไต หรือท่อไต (Ureters)
หลอดไต (Ureters)
ยาวประมาณ 10-12 นิ้ว
เปิดสู่กระเพาะปัสสาวะทางด้านข้าง
ทอดตัวลงมาตามกล้ามเนื้อ psoas major
ทำหน้าที่นำปัสสาวะจากกรวยไตไปเก็บในกระเพาะปัสสาวะ
เป็นท่อต่อจาก renal pelvis
เส้นประสาทที่มาไต (Nerve supply)
Sympathetic fibers from T10-L2 (hypogastric plexus)
Parasympathetic fibers from S2-4 (pelvic splanchnic nerve)
Renal sympathetic plexus.
เส้นเลือดที่มาเลี้ยงไต (Blood supply)
เป็น renal artery ทั้งข้างซ้าย และขวาที่แตกแขนงมาจาก abdominalaorta
โครงสร้าง Juxtaglomerular apparatus (JGA)
เป็นโครงสร้างที่ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนรีนิน โดยมีความเกี่ยวข้องกับ
ควบคุมเลือดที่มาที่ไต(renal blood flow, RBF)
ควบคุมการกรอง (glomerular fitrationrate, GFR)
ส่วนประกอบของ juxtaglomerular apparatus
Juxtaglomerular cell
Glomerular mesangial cells
Macula densa
Parenchyma of kidney
เนื้อไตทางส่วน cortex และ medullaเรียกว่า parenchyma of kidney
Parenchyma of kidney
ประกอบด้วย
uriniferous tubul
ประกอบด้วย 2 พวก คือ
Collecting tubules
เป็นท่อมีขนาดใหญ่ มีส่วนปลายของ หลอดไต ส่วนปลาย (distal convoluted tubules) หลายๆ ท่อมาเปิดเข้า
หน้าที่
1 more item...
Nephrons
ส่วนประกอบของ Nephrons
1 more item...
ชนิดของ nephrons
2 more items...
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder)
ทำหน้าที่กักเก็บน้ำปัสสาวะ
เป็นอวัยวะที่อยู่บริเวณช่องท้องน้อย (Pelvic cavity) หลังรอยต่อของกระดูกหัวเหน่า (Symphysis pubis)
ไต (Kidneys)
โครงสร้างที่สัมพันธ์กับไต
Anterior surface
Posterior surface
ลักษณะภายนอกของไต
Renal hilus
Renal capsule
โครงสร้างของไต
Cortex
มีสีน้ำตาลแดง
มีส่วนแทรกเข้าไปใน pyramidเรียก renal column
ประกอบด้วย Renal corpouscles (Glomerulus และ Bowman's Capsule)
พบท่อหน่วยไตส่วนต้น (renal tubule)
Medulla
พบ renal pyramid 6-12 อัน
ยอดแหลมของ pyramid เรียก renal papilla เป็นท่อเปิดของ papillary duct
ประกอบด้วยส่วน henle’s loop และ collecting duct
มีอยู่ 2 ข้าง รูปร่างคล้ายเม็ดถั่ว วางตัวอยู่ด้านหลังของเยื่อบุช่องท้อง
โครงสร้างที่ห่อหุ้มไต
Perinephric (Perirenal) fat
Renal fascia
Renal capsule
หลอดปัสสาวะ หรือท่อปัสสาวะ(Urethra)
ท่อปัสสาวะชาย (Male urethra)
มีความยาว 18-20 cm.
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
Penile urethra
Membranous urethra
Prostatic urethra
เป็นทางผ่านของน้ำปัสสาวะ และน้ำอสุจิ
เริ่มจากรูเปิดภายใน (internal orifice) ที่คอของกระเพาะปัสสาวะไปจนถึงรูเปิดภายนอก (external orifice) หรือที่ปลายองคชาต (penis)
ท่อปัสสาวะเพศหญิง (Female urethra)
ยาว 4 cm. ตั้งอยู่หลัง symphysis pubis และติดกับผนังด้านหน้าของช่องคลอด (vagina)
เส้นประสาทที่มาเลี้ยง ureter, urinary bladder และ internal urethral sphincter
Parasympathetic fibers ทำให้กล้ามเนื้อเรียบ ของ ureter และ urinary bladder หดตัว และกล้ามเนื้อ internal urethral sphincter คลายตัว
Sympathetic fibers ให้ผลตรงข้ามกับ Parasympathetic fibers
หน้าที่สำคัญของระบบขับถ่ายปัสสาวะ คือ
เลือกสารขับถ่ายต่างๆ ที่เป็นพิษออกไป
ควบคุมสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย
รักษาสมดุลของน้ำ สารพวกเกลือแร่ต่าง ๆ
สร้างฮอร์โมน renin, erythropoetin และ calcitriol