Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Virus - Coggle Diagram
Virus
Viral Disease
โรคโปลิโอ (Poliomyelitis)
ระยะฟักตัว
ประมาณ 7-14 วัน
อาการ
90%ของผู้ติดเชื้อโปลิโอ ไม่
แสดงอาการ (แพร่เชื้อทางอุจจาระ)
บางรายมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเพียง
เล็กน้อย แล้วหายเป็นปกติดี ส่วนน้อยจะพิการหรือเสียชีวิต
การติดต่อ
การกิน หรือสูดดมเอาเชื้อเข้าไปในร่างกาย
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน OPV โดยการหยดทางปาก
เชื้อไวรัสก่อโรค
Polio virus
โรคสุกใส (Chicken Pox)
การติดต่อ
ทางน้ำมูก น้ำลาย และแผลที่ผิวหนัง
ระยะฟักตัว
ประมาณ 14-16 วัน (แพร่เชื้อช่วงก่อนมีอาการ 2 วัน)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Varicella - Zoster virus (VZV)
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส วาริเซลลา เชื้อตัวเดียวกับการเกิดโรคงูสวัด
ข้อควรระวัง
หลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพริน
โรคงูสวัด (Herpes Zoster, Shingles)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Varicella - Zoster virus (VZV)
เชื้อซ่อนตัวอยู่ที่ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง (Dorsal root ganglion) เป็นตุ่มใสตามแนว dermatome
การป้องกันโรคงูสวัด
ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกัน
โรคเริม (Herpes Simplex)
เชื้อไวรัสก่อโรค : Herpes simplex virus (HSV)
1) อาการเริมบริเวณฝีปาก
เชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายประมาณ 6-8 วัน
ผิวบริเวณนั้นเกิดตุ่มน้ำพองใสเป็นกลุ่มๆ กลุ่มละ 2-10 เม็ด
(ระยะติดต่อ)
2) อาการเริมบริเวณอวัยวะเพศ
อัตราการติดต่อสูง โดยมักติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อาการรุนแรงในช่วงการติดเชื้อครั้งแรก
เกิดอาการหลังได้รับเชื้อประมาณ 2-3 วัน ถึง 3 สัปดาห์ปวดแสบปวดร้อน ระคายเคืองบริเวณที่จะเกิดตุ่มแผล
ผ่านไป 10 วัน จะมีตุ่มใสๆ เกิดขึ้นและมีอาการเจ็บปวดมาก
โรคหัด (Measles, Rubeola )
การติดต่อ
ทางลมหายใจ (ติดต่อง่ายโดยการไอ หรือ จาม) หรือการสัมผัสน้ำมูก
ระยะฟักตัว
9-12 วัน
เชื้อไวรัสก่อโรค
Rubeola virus
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน MMR
โรคหัดเยอรมัน (German Measles, Rubella)
การติดต่อ
การไอ จาม หายใจรดกัน
ระยะฟักตัว
14-21 วัน
เชื้อไวรัสก่อโรค
Rubella virus
การป้องกันโรค
ฉีดวัคซีน MMR
โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Rabies virus
การเกิดโรค
โรคกลัวน้ำ (hydrophobia)
การติดต่อ
น้ำลายของสัตว์ที่ติดเชื้อ
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-8 สัปดาห์ อาจสั้นเพียง 5 วัน หรือยาวนานเกินกว่า 1 ปี
วิธีป้องกัน
พาสุนัขไปฉีดวัคซีนทุกปี
โรคคางทูม (Mums)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Mumps virus
การติดต่อ
ติดต่อโดยตรงทางการหายใจ และสัมผัสน้ำลายของผู้ป่วย
ระยะฟักตัว
14-25 วัน
เชื้อเข้าไปเพิ่มจำนวนในเยื่อบุทางเดินหายใจ และต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียง
มีอาการไข้คล้ายไข้หวัด ประมาณ 2-3 วัน และมีอาการเจ็บบริเวณหน้าหูร่วมกับอาการบวม
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ
ภาวะตับอ่อนอักเสบ
ถุงอัณฑะอักเสบในเด็กผู้ชาย
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน MMR
โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Influenza virus
แบ่งเป็น 3 type
Influenza virus B
ติดเชื้อในคน
Influenza virus C
ติดเชื้อในคน
Influenza virus A
ติดเชื้อในคน และสัตว์ : ม้า สุกร นก ไก
โรคไข้เลือดออก (Dengue Fever)
การติดต่อ
พาหะนำโรค คือ ยุงลายบ้าน
ระยะฟักตัว
3-14 วัน (ส่วนใหญ่ประมาณ 4-7 วัน)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Dengue fever virus (DENV)
อาการจำแนกตามลักษณะความรุนแรง
1) Dengue fever, DF
ไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อหรือปวดกระดูก มีผื่น หรือจุดเลือดออก
2) Dengue hemorrhagic fever, DHF
ไข้สูงลอยเป็นประมาณ 2-7 วัน มีจุดเลือดออก ตับโต และมี
อาการเปลี่ยนแปลงทางระบบไหลเวียนโลหิต จนเกิดภาวะช็อกได้ และมีการรั่วของพลาสมา
3) Dengue Shock Syndrome, DSS
DHF ร่วมกับมีภาวะช็อก โดยมีอาการร่วมคือ ชีพจรเบาเร็ว และมี
การเปลี่ยนแปลงของความดันเลือด
โรคไวรัสตับอักเสบ (Hepatitis Virus)
ไวรัสตับอักเสบ A
ติดต่อทางอาหาร น้ำ ผู้ป่วยมักมีอาการเฉียบพลัน
ไวรัสตับอักเสบ BและC
มักติดต่อทางเลือด สารคัดหลั่งและเพศสัมพันธ์การใช้เข็มร่วมกันผู้ป่วยมีโอกาสเป็นโรคตับอักเสบเรื้อรังได้
เชื้อไวรัสก่อโรค
Hepatitis virus
โรคมือ เท้า ปาก (Hand Foot Mouth Disease)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Coxsackie virus
เป็นโรคที่ไม่รุนแรง เรียกว่า mild disease
อาการ
มีผื่นและตุ่มน้ำใส (หายได้เองในเวลา 5 - 7 วัน หรือไม่เกินสองสัปดาห์)
การติดต่อ
fecal-oral transmission
โรคเอดส์ (AIDS)
เชื้อมีความจำเพาะ
เซลล์เม็ดเลือดขาว และcell ระบบประสาท ได้ดีกว่า cell อื่น
Human Immunodeficiency Virus
เชื้อไวรัสที่จะเข้าไปทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว
ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
Acquired Immune Deficiency Syndrome
กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันบกพร่อง เนื่องจากการติดเชื้อ
HIV ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ
โรค HPV
สังเกตอาการ
ตกขาวผิดปกติมีเลือดออกเวลามีเพศสัมพันธ์
วิธีป้องกัน
ไม่ควรมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย
สวมถุงยางอนามัย
ฉีดวัคซีนป้องกัน
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคไข้ซิก้า (Zika Fever)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Zika virus
อาการ
ไข้ ผื่น ตาแดง ปวดข้อ
การติดเชื้อในคุณแม่ตั้งครรภ์มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดในทารก
โรคชิคุนกุนยา (Chikungunya)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Chikungunya virus, CHIK V
อาการ
มีไข้ ออกผื่น ตาแดง ปวดข้อ ปวดหลัง
กลุ่มเสี่ยง
หญิงตั้งครรภ์อาจส่งผลกระทบต่อทารกทำให้เกิดมามีสมองเล็ก
Rota Virus
ติดต่อผ่านการรับเชื้อเข้าทางปากทำให้มีอาการท้องร่วงอย่างรุนแรง
อาการ
มีไข้สูง อาเจียน ท้องเสีย ถ่ายเหลว
RSV
เชื้ออันตรายที่คล้ายไข้หวัด
อาการ
มีเสียงหวีดในปอด
มีเสมหะมาก ไอแรง
เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก
โครงสร้างไวรัส
Envelope
ช่วยในการงอก หรือหลุดออกจากเซลล์ และช่วยให้เข้าสู่อีกเซลล์หนึ่งได้ โดยทำให้เกิด infection
Capsid
ชั้นของโปรตีนที่ห่อหุ้มกรดนิวคลิอิก>> ปกป้อง genome จากการถูกทำลายด้สิ่งแวดล้อมภายนอก
ช่วยในการเกาะติดกับ cell host
Nucleic acid
DNA virus / RNA virus >>ตัวนำรหัสพันธุกรรมที่จำเป็นต่อการเพิ่มจำนวนของไวรัส
ควบคุม metabolism
การเพาะเลี้ยงไวรัส
ไวรัสเจริในเซลล์สิ่งมีชีวิตเท่านั้น
วิธีการเพาะเลี้ยงไวรัสที่ง่ายและประหยัด
2.เลี้ยงในเซลล์เพาะเลี้ยง (cell culture)
เนื้อเยื่อ ตับ ไต ปอด ผิวหนัง กล้ามเนื้อ จากหนู ลูกไก่ ลิง คน
3.เลี้ยงในสัตว์ทดลอง
ลิง หนูแฮมสเตอร์ ลูกหนูขาว กระต่าย หนูตะเภา
1.เลี้ยงไวรัสในไข่ไก่ที่ได้รับการผสมแล้ว (Chick embryo)
ฉีดไวรัสผ่านเปลือกไข่เข้าไป ปิดรูด้วยขี้ผึ้ง พาราฟิน
บ่มไข่ไก่ที่ 36 องศาเซลเซียส
ไข่ไก่ฟักมีอายุ 5-12 วัน
จุลที่สามารถทำให้เกิดการติเชื้อได้ กลไกการเพิ่มจำนวนของไวรัส เรียก replication
มีโครงสร้างและส่วนประกอบง่ายๆ ไม่มี metabolism ไม่มี organelle
อาศัยการทำงานจาก host cell
มี Nucleic acid เพียงชนิดเดียว (DNA หรือ RNA)
ไม่ถูกทำลายโดยยาปฏิชีวนะ แต่ใช้ interferon หรือ antiviral drug