Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Viral Diseases - Coggle Diagram
Viral Diseases
ประกอบด้วยโรคต่าง ๆ ดังนี้
โรคไข้เลือดออก (Dengue Fever)
การติดต่อ
พาหะนำโรค คือ ยุงลายบ้าน
ระยะฟักตัว
3-14 วัน (ส่วนใหญ่ประมาณ 4-7 วัน)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Dengue fever virus (DENV)
อาการ
1) Dengue fever, DF ) คือ ไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ/ปวดกระดูก มีผื่น หรือจุดเลือดออก
2) Dengue hemorrhagic fever, DHF ) คือ ไข้สูงลอยเป็นประมาณ 2-7 วัน มีจุดเลือดออก ตับโต และมีอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบไหลเวียนโลหิต จนเกิดภาวะช็อกได้ และมีการรั่วของพลาสมา
3) Dengue Shock Syndrome, DSS ) คือ DHF ร่วมกับมีภาวะช็อก โดยมีอาการร่วม คือ ชีพจรเบาเร็ว และมีการเปลี่ยนแปลงของความดันเลือด
โรคไวรัสตับอักเสบ (Hepatitis Virus)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Hepatitis virus
อาการ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
การป้องกัน
กินร้อนช้อนกลาง ล้างมือบ่อย ๆ
โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Influenza virus
แบ่งเป็น 3 ส่วน
Influenza virus A (ติดเชื้อในคน และสัตว์ : ม้า สุกร นก ไก่)
Influenza virus B (ติดเชื้อในคน)
Influenza virus C (ติดเชื้อในคน)
อาการ
มีไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เบื่ออาหาร มีน้ำมูกไอแห้งๆ
การป้องกัน
ปิดปาก ปิดจมูก ล้างมือบ่อยๆ
โรคมือ เท้า ปาก (Hand Foot Mouth Disease)
เป็นโรคที่ไม่รุนแรง เรียกว่า mild disease
อาการ
มีผื่น และตุ่มน้ำใส (หายได้เองในเวลา 5-7 วัน หรือไม่เกินสองสัปดาห์)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Coxsackie virus
การติดต่อ
fecal-oral transmission
การป้องกัน
รักษาสุขอนามัย กินร้อน ใช้ช้อนกลาง หมั่นล้างมือ
โรคคางทูม (Mums)
การติดต่อ
ติดต่อโดยตรงทางการหายใจ และสัมผัสน้ำลายของผู้ป่วย เช่น การดื่มน้ำ และอาหารที่ใช้ภาชนะร่วมกัน
ระยะฟังตัว
14-25 วัน
เชื้อไวรัสก่อโรค
Mumps virus
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน MMR
ภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญ
ภาวะตับอ่อนอักเสบ และถุงอัณฑะอักเสบในเด็กผู้ชาย
โรคเอดส์ (AIDS)
เชื้อมีความจาเพาะ : เซลล์เม็ดเลือดขาว และ cell ระบบประสาท ได้ดีกว่า cell อื่น
แบ่งเป็น
HIV
Human Immunodeficiency Virus
เชื้อไวรัสที่จะเข้าไปทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
AIDS
Acquired Immune Deficiency Syndromed
กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันบกพร่อง เนื่องจากการติดเชื้อ HIV ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ
การป้องกัน
สวมถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธุ์
โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies)
การเกิดโรค
โรคกลัวน้ำ (hydrophobia)
การติดต่อ
น้ำลายของสัตว์ที่ติดเชื้อ
เชื้อไวรัสก่อโรค
Rabies virus
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-8 สัปดาห์ อาจสั้นเพียง 5 วัน หรือยาวนานเกินกว่า 1 ปี
โรค HPV
เชื้อไวรัสก่อโรค
Human papilloma virus
อาการ
มีหูดหงอนไก่ มีอาการตกขาวมากกว่าปกติ
การติดต่อ
การติดเชื้อ HPV สามารถเกิดขึ้นได้ ทั้งเพศหญิงและเพศชายหากมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ
การป้องกันโรค
รักษาสุขภาพให้แข็งแรง การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย หากไม่มั่นใจให้สวมถุงยางอนามัยก่อนมีเพศสัมพันธ์ทั้งคู่จะเป็นการดีที่สุด
โรคหัดเยอรมัน (German Measles, Rubella)
การติดต่อ
การไอ จาม หายใจรดกัน
ระยะฟักตัว
14-21 วัน
เชื้อไวรัสก่อโรค
Rubella virus
การป้องกันโรค
ฉีดวัคซีน MMR
โรคไข้ซิก้า (Zika Fever)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Zika virus
อาการ
มีไข้ มีผื่นแดง เยื่อบุตาอักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
ระยะฟักตัว
4-7 วัน หลังโดนยุงกัด (สั้นสุด 3 วัน และยาวสุด 12 วัน)
การป้องกัน
นอนในมุ้ง และปิดหน้าต่าง สวมเสื้อแขนยาว กางเกงขายาวให้มิดชิด
โรคหัด (Measles, Rubeola )
การติดต่อ
ทางลมหายใจ ติดต่อง่ายโดยการไอ/จาม การสัมผัสน้ำมูก
ระยะฟักตัว
9-12 วัน( บางรายนานถึง 21 วัน)
เชื้อไวรัสกอโรค
Rubeola virus
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน MMR (Measles,Mumps and Rubella vaccine)
โรคชิคุนกุนยา (Chikungunya)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Chikungunya virus, CHIK V
อาการ
มีไข้ ออกผื่น ตาแดง ปวดข้อ ปวดหลัง
การป้องกัน
ป้องกันไม่ให้ยุงกัน ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
โรคเริม (Herpes Simplex)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Herpes simplex virus (HSV)
อาการ
อาการเริมบริเวณฝีปาก
เชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายประมาณ 6-8 วัน ผิวบริเวณนั้นเกิดตุ่มน้ำพองใสเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 2-10 เม็ด (ระยะติดต่อ)
อาการเริมบริเวณอวัยวะเพศ
มีอัตราการติดต่อสูง โดยมักติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
อาการรุนแรงในช่วงการติดเชื้อครั้งแรก
เกิดอาการหลังได้รับเชื้อประมาณ 2-3 วัน ถึง 3 สัปดาห์
ปวดแสบ ปวดร้อน ระคายเคืองบริเวณที่จะเกิดตุ่มแผล
ปวดศีรษะเป็นไข้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ผ่านไป 10 วันจะมีตุ่มใส ๆ เกิดขึ้น และมีอาการเจ็บปวดมาก
Rota Virus
อาการ
อาเจียน มีไข้ ท้องเสีย ถ่ายเหลวเป็นน้ำ
การป้องกัน
ล้างมือให้สะอาด รับประทานอาหารปรุงสุก และสะอาด
เชื้อโรคที่ติดต่อผ่านการรับเชื้อเข้าทางปากทำให้มีอาการท้องร่วงรุนแรง
โรคงูสวัด (Herpes Zoster, Shingles)
เชื้อซ่อนตัวอยู่ที่ปมประสาทรากบนของ ไขสันหลัง (Dorsalrootganglion)
เป็นตุ่มใสตามแนวdermatome (แนวเส้นประสาทของผิวหนัง)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Varicella-Zoster virus (VZV)
RSV
เป็นเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะในเด็กเล็ก
การติดต่อ
โดยการสัมผัสใกล้ชิดกับสิ่งคัดหลั่งต่างๆ ของผู้ป่วย เช่น น้ำมูก น้ำลาย เสมหะ
อาการ
หอบเหนื่อย หายใจเร็ว หายใจแรง หายใจครืดคราด ตัวเขียว
การป้องกัน
หมั่นล้างมือบ่อยๆ คุณพ่อคุณแม่ที่มีลูกป่วยควรแยกเด็กออกจากเด็กปกติเพื่อป้องกันการไอจามแพร่เชื้อให้กับผู้คนที่อยู่รอบข้าง
โรคสุกใส (Chicken Pox)
การติดต่อ
ทางน้ำมูก น้ำลาย และแผลที่ผิวหนัง
ระยะฟักตัว
ประมาณ 14-16 วัน (แพร่เชื้อช่วงก่อนมีอาการ 2 วัน)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Varicella-Zoster virus (VZV)
อาการ
ไข้ เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ รู้สึกอ่อนล้า และไม่สบายตัว
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน
Covid-19
อาการ
เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ตาแดงหรือระคายเคืองตา ท้องเสีย ไอ จาม
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง เว้นระยะห่าง สวมแมท ล้างมือบ่อยๆ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
โรคโปลิโอ (Poliomyelitis)
เชื้อไวรัสก่อโรค
Poliovirus
การติดต่อ
การกินหรือการสูดดมเอาเชื้อเข้าไปในร่างกาย
ระยะฟักตัว
ประมาณ 7-14 วัน
อาการ
บางรายมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเพียงเล็กน้อยแล้วหายเป็นปกติ
90% ของผู้ติดเชื้อโปลิโอไม่แสดงอาการ (แพร่เชื้อทางอุจจาระ)
ส่วนน้อยจะพิการ หรือเสียชีวิต
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน OPV (Oral Polio Vaccine) โดยการหยดทางปาก
ไวรัส (Virus)
ลักษณะของเชื้อไวรัส
จุลินทรีย์สามารถทำให้เกิดการติดเชื้อได้ (infectious agents)
กลไกการเพิ่มจำนวนของไวรัส เรียกว่า replication
มีโครงสร้าง และส่วนประกอบง่าย ๆ ไม่มี metabolism
ไม่มี organelle
อาศัยการทำงานจาก host cell
มี nucleic acid เพียงชนิดเดียว (DNA หรือ RNA)
เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก (20 -250 นาโนเมตร)
ไม่ถูกทำลายโดยยาปฏิชีวนะ แต่ใช้ interferon (IFN) หรือ antiviral drug
การติดเชื้อไวรัส ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ บน host cell เช่น ทำให้เซลล์ตาย มีการรวมตัวของเซลล์
โครงสร้างของไวรัส
ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ
Capsid
ชั้นของโปรตีนที่ห่อหุ้มกรดนิวคลีอิก
หน้าที่
ช่วยปกป้อง genome ของไวรัส จากการถูกทำลายด้วยสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น enzyme
ช่วยในการเกาะติดกับ cell host
Nucleic acid
DNA viruses / RNA viruses
หน้าที่
ตัวนำรหัสพันธุกรรมที่จำเป็นต่อการเพิ่มจำนวนของไวรัส
ควบคุม metabolism ของเซลล์
Envelope
ช่วยในการงอก หรือหลุดออก budding จากเซลล์
ช่วยให้เข้าสู่อีกเซลล์หนึ่งได้ โดยทำให้เกิด infection
การเพาะเลี้ยงไวรัส
ไวรัสเจริญในเซลล์สิ่งมีชีวิตเท่านั้น
วิธีการเพาะเลี้ยงไวรัสที่ง่าย และประหยัด คือ
เลี้ยงในเซลล์เพาะเลี้ยง (Cell culture) : เนื้อเยื่อ ตับ ไต ปอด ผิวหนัง กล้ามเนื้อ จากหนู ลูกไก่ ลิง คน
เลี้ยงไวรัสในสัตว์ทดลอง : ลิง หนูแฮมสเตอร์ ลูกหนูขาว กระต่าย หนูตะเภา
เลี้ยงไวรัสในไข่ไก่ที่ได้รับการผสมแล้ว (chick embryo)
ฉีดไวรัสผ่านเปลือกไข่เข้าไป ปิดรูด้วยขี้ผึ้ง พาราฟิน
บ่มไข่ไก่ที่ 36 องศา
ไข่ไก่ฟักมีอายุ 5-12วัน