Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535🏭, 272620389_531477734774726…
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535🏭
การประกอบกิจการโรงงาน 🏗
ประเภทของโรงงาน 🏢
แบ่งได้ 3 ประเภท
โรงงานที่สามารถประกอบการได้ทันที ได้แก่ โรงงานขนาดเล็กใช้เครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า คนงานไม่เกิน 20 คน
โรงงานที่ต้องแจ้งให้ผู้อนุญาต(กรมโรงงานอุตสาหกรรม) ได้แก่โรงงานขนาดกลางมีเครื่องจักรไม่เกิน 50 แรงม้า คนงานไม่เกิน 50 คน
โรงงานที่ต้องได้รับใบอนุญาติก่อน (ใบอนุญาตมีอายุ5ปี) ได้แก่ โรงงานขนาดใหญ่มีเครื่องจักรเกิน 50 แรงม้า คนงานเกิน 50 คน
กำหนดมาตรฐาน 📈
ควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษ
จัดเอกสารประจำโรงงานและข้อมูลที่ต้องแจ้งโดยกำหนดไว้
การขยายโรงงาน ⚒
การเพิ่มเครื่องจักรตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป
มีกำลังรงมเกินกว่า 100 แรงม้าและแก้ไขอาคาร
ห้ามไม่ให้ผู้รับใบอนุญาตประเภทที่3ขยายโรงงานเว้นแต่ได้รับอนุญาต
ประกาศให้ท้องที่ใดเป็นเขตประกอบการอุตสาหกรรม 📰📢
เป็นการกำหนดให้บริเวณใดเป็นเขตห้ามประกอบกิจการ
หรือสามารถประกอบกิจการได้โดยเฉพาะโรงงานประเภใด
การกำกับและดูแลโรงงาน📌🔍
กำหนดให้เจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบสภาพภายในโรงงาน
หากเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินเจ้าพนักงานสามารถสั่งปรับปรุง ปิดโรงงานหรือเข้าไปดำเนินการแก้ไขโดยผู้ประกอบการเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายรวมทั้งค่าปรับ
อาจมีการกำหนดให้เอกชนเป็นผู้ดำเนินการและจัดทำรายงานผลการตรวจสอบ
หากทางราชการเข้าไปจัดการแก้ไขปัญหามลพิษให้รับเงินช่วยเหลือจากกองทุนสิ่งแวดล้อม
บทกำหนดโทษ⚖️
ค่าปรับ💵
โทษปกติ
ถูกปรับตั้งแต่ 5,000 ถึง 200,000 บาท
จำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 2 ปี
หรือทั้งจำทั้งปรับ
โทษหนักที่สุด
ผู้ประกอบการฝ่าฝืนคำสั่งหยุดประกอบกิจการโรงงาน
ระวางโทษจำคุก ไม่เกิน 2 ปี
ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ให้ปรับอีกวันละ 5,000 บาท จนกว่าจะหยุดประกอบกิจการ
หากสถาปนิกหรือวิศวกรยังฝ่าฝืนคำสั่งปิดต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้ประกอบการ
พระราชบัญญัติฉบับที่สำคัญ 📋
ฉบับที่ 3 กำหนดประเภทของโรงงานที่ต้องทำรายงานต่อทางการตามที่กำหนด
ฉบับที่ 2 กำหนดที่ตั้งและลักษณะโรงงาน ทำเลที่ตั้งห่างจากที่สาธารณะ
ฉบับที่1 กำหนดว่าโรงงานชนิดใดเป็นโรงงานประเภท 1,2 หรือ 3
นางสาวนราพร อินต๊ะวงศ์ ชพบ62.1 เลขที่ 14