Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 อากรแสตมป์ - Coggle Diagram
บทที่ 9 อากรแสตมป์
-
-
การยกเว้นอากรแสตมป์
-
- ยกเว้นอากรแสตมป์ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
- ยกเว้นอากรตามประมวลรัษฎากร
- ยกเว้นตามคำสั่งของหัวหน้าคณะปฏิวัติที่ 79/2515
-
ผู้มีหน้าที่อากรแสตมป์
- บุคคลที่ระบุไว้ในช่องที่ 3 ของบัญชีอัตราอากรแสตมป์
- ท่าตราสารทำขึ้นนอกประเทศ ให้เป็นหน้าที่ของผู้ทรงตราสารคนแรกในประเทศเป็นผู้เสียอากรภายใน 30 วัน
- ตัวเงินที่ยื่นให้ชำระเงิน มิได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์
- ผู้มีหน้าที่เสียอากร ตามที่ระบุไว้ในบัญชีอัตราอากรแสตมป์
-
วิธีการเสียอากรแสตมป์
- กรณีแสตมป์ปิดทับ คือการได้เสียอากรโดยปิดแสตมป์ทับกระดานก่อนหรือในทันทีที่ทำตราสาร
- กรณีแสตมป์ดุน คือการได้เสียอากรโดยใช้กระดาษมีแสตมป์ดุนเป็นราคาไม่น้อยกว่าอากรที่ต้องเสียและขีดฆ่าแล้ว
- กรณีชำระเป็นตัวเงิน คือการได้เสียอากรเป็นตัวเงิน เป็นราคาไม่น้อยกว่าอากรที่ต้องเสียตามบทบัญญัติในหมวดอากรแสตมป์
-
ความหมายของอากรแสตมป์
อากรแสตมป์ หมายถึง ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ซึ่งเป็นภาษีทางอ้อมจะเก็บจากการทำตราสารระหว่างการ 28 ลักษณะตามที่กำหนดไว้ในบัญชีอัตราอากรแสตมป์
บัญชีอัตราอากรแสตมป์
บัญชีอัตราอากรแสตมป์ เป็นการแสดงค่าอากรแสตมป์ และระบุไว้ว่าใครบ้างเป็นผู้มีหน้าที่เพราะเสียอากรแสตมป์ในการทำรายการต่างๆที่ได้กำหนดไว้ตามประมวลรัษฎากรสำหรับการทำตราสาร 28 ลักษณะ
เอกสารใบรับ
การขายสินค้าหรือการให้บริการ หลักฐานที่เกี่ยวข้องได้แก่ ใบเสร็จรับเงิน ซึ่งเป็นใบรับที่แสดงการรับชำระเงินหากเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มก็จะต้องมีใบกำกับภาษีมาเกี่ยวข้องนอกเหนือจากใบเสร็จรับเงิน ลักษณะของใบเสร็จรับเงินและใบกำกับภาษีจะต้องมีสาระสำคัญที่กฎหมายกำหนดไว้จึงจะถือว่าถูกต้องสำหรับผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะใช้ใบกำกับภาษีกับใบเสร็จรับเงินในฉบับเดียวกันก็ได้