Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 กฎหมายและโยบายที่เกี่ยวข้อง - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
กฎหมายและโยบายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2535 โดยยกเลิกฉบับเก่าซึ่งมีใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 โครงสร้างของกฎหมายแบ่งเป้น 7 หมวดคือ
1.1 คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ประกอบด้วยรัฐมนตรี 10 ท่าน มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานและมีเจ้าหน้าที่ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทำหน้าที่กำกับดูแลและดำเนินการวางแผนสิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้เป็นไปตามกฎหมาย
1.2 กองทุนสิ่งแวดล้อม จัดตั้งในกระทรวงการคลังโดยให้กรมบัญชีกลางเป้นผู้รับผิดชอบบริหารกองทุนตามคำแนะนำของคณะกรรมการกองทุนที่จัดตั้งขึ้นใหม่ เพื่อกำหนดเงื่อนไขในการให้รัฐและเอกชนกู้ยืม
1.3 การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม การกำหนดมาตรฐาน การวางแผนจัดการ การประกศเขตอนุรักษ์ การทำรายงานการวิเคราะห์ผลลกระทบสิ่งแวดล้อมอยู่ในการกำกับดูแลของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติโดยมีรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์
1.4 การควบคุมมลพิษ ให้จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมมลพิษ โดยมีปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เพื่อเสนอแผนปฏิบัติการป้องกันหรือแก้ไขอันตรายจากมลพิษ รวมทั้งให้คำแนะนำในเรื่องมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด
1.5 มาตรการส่งเสริม ผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษทางด้านอากรขาเข้าของเครื่องจักรอุปกรณ์ การขอนำผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศเข้ามาปฏิบัติหน้าที่โดยยื่นขอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
1.6 ความรับผิดทางแพ่ง กำหนดให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษ มีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายที่ตนเองก่อขึ้น
1.7 บทกำหนดโทษ ผู้ที่ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย อาจถูกจำคุกตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 5 ปีหรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท ถึง 500,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติฉบับนี้ยกเลิก พระราชบัญญัติการสาธารณสุขฉบับที่มีใช้มาแต่ พ.ศ. 2527 และพระราชบัญญัติควบคุมการใช้อุจจาระและปุ๋ยที่มีใช้มาแต่ พ.ศ. 2497
ในกฎหมายได้ให้คำจำกัดความของ ของเสียไว้ 2 ชนิด คือ "สิ่งปฏิกูล" หมายความว่า "อุจจาระ หรือปัสสาวะและหมายความรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น" "มูลฝอย" หมายความว่า "เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหาร มูลสัตว์หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บจากถนน ตลาด ที่สัตว์เลี้ยง
หรือที่อื่นกฎหมายยแบ่งออก เป็น 16 หมวด ดังนี้
3.4 สุขลักษณะของอาคาร
3.5 เหตุรำคาญ
3.3 กำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย
3.6 การควบคุมการเลี้ยงสัตว์หรือปล่อยสัตว์
3.2 คณะกรรมการสาธารณสุข
3.7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
3.1 บททั่วไป
3.8 ตลาด
3.9 การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ
3.13 อัตราธรรมเนียมมค่าปรับ
3.14 การอุทธรณ์
3.12 ใบอนุญาต
3.15 บทกำหนดโทษ
3.16 บทเฉพาะกาล
3.10 อำนาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณะสุข
3.11 หนังสือรับรองการแจ้ง
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ นี้ "โรงงาน" ตาม พระราชบัญญัตินี้หมายความว่า "อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักร มีกำลังรวมตั้งแต่ห้าแรงม้า หรือใช้คนตั้งแต่เจ็ดคนขึ้นไปโดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตามสำหรับทำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อมบำรุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ เก็บรักษา หรือทำลายสิ่งใดๆ ทั้งนี้ตามชนิดของโรงงานที่กำหนดในกฎกระทรวง"
การประกอบกิจการโรงงาน
โรงงานประเภทที่ 1 ได้แก่ โรงงานประเภทชนิด และขนาดที่สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ทันที
โรงงานประเภทที่ 2 ได้แก่โรงงาน ชนิด และขนาดที่เมื่อจะประกอบกิจการโรงงานต้องแจ้งให้ผู้อนุญาติ
โรงงานประเภทที่ 3 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การตั้งโรงงานจะต้องได้รับอนุญาติก่อน
กำหนดมาตรฐาน และวิธีการควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการจากโรงงานและข้อมูลที่ต้องแจ้งโดยให้กำหนดไว้ในกฎกระทรวงด้วย
การขยายโรงงาน ห้ามมิให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานขยายโรงงานเว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
ประกาศให้ท้องที่ใดเป็นเขตประกอบการอุตสาหกรรมหรือจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมการกำหนดเขตประกอบอุตสาหกรรมโดยรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมมีอำนาจขึ้นและสามารถกำหนดให้บริเวณโดยรอบเขตนั้นภายในระยะที่กำหนด
การกำกับและดูแลโรงงาน
ให้เจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่มีหน้าที่เข้าไปตรวจสอบสภาพภายในโรงงาน ในกรณีที่มีผู้สงสัยว่าอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินรวมทั้งจับกุมเพื่อส่งพนักงานสอบสวนทางกฎหมายเจ้าพนักงานสามารถสั่งปรับปรุง รวมทั้งค่าปรับร้อยละ 30 ต่อปี
บทกำหนดโทษ
ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 5,000 ถึง 200,000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 2 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติเก่าที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2510 และ พ.ศ. 2516 ทั้งยังให้ความหมายของคำว่า "วัตถุอันตราย" หมาความว่าวัตถุดังต่อไปนี้
วัตถุที่ทำให้เกิดโรค
วัตถุกัมมันตรังสี
วัตถุมีพิษ
วัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
วัตถุออกซิไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซด์
วัตถุกัดกร่อน
2.วัตถุไวไฟ
วัตถุที่ทำให้เกิดการระคายเคือง
วัตถุระเบิดได้
วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใดที่ทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
กฎหมายฉบับนี้ครอบคลุมถึง การผลิต นำเจ้า ส่งออก ขาย มีไว้ในคุ้มครอง วัตถุอันตราย กฎหมายแบ่งออกเป็น 4 หมวดคือ
1.คณะกกรมการวัตถุอันตรายให้ประกอบด้วยปลัดกระทรวงอุตสากหรรมเป็นประธานมีอำนาจในการพิจารณาร้องเรียนและให้คำปรึกษาแก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
2.การควบคุมวัตถุอันตรายแบ่งวัตถุดิบออกเป็น 4 ชนิดได้แก่
2.1 วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องปฏิบัติตามเกณฑ์และวิธีที่กำหนด
2.2 วัตถุอันตรายที่การผลิตนำเข้า การส่งออกหรือการมีไว้ในครอบครองต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด
2.3 วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก
หรือการมีไว้ในครอบครองต้องได้รับอนุญาตก่อน
2.4 วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก
หรือการมีไว้ในครอบครอง
บทกำหนดโทษ ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 10000 ถึง 1000000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 10 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
หน้าที่และความรับผิดทางแพ่ง กำหนดให้ผู้ผลิตนำเข้าผู้ขนส่ง ผู้มีไว้ในครอบครองใช้ความ
ระมัดระวังในการตรวจสอบรับผิดชอบต่อการเสียหายอันเกิดแก่วัตถุอันตรายโดยมีสิทธิ
ไล่เบี้ยเอากับผู้ที่ส่งมอบวัตถุอันตรายให้ตนจนถึงผู้ผลิตภายใน 3 ปี