Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
การป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ปัญหาด้านพลังงานเป็นปัญหาสําคัญระดับโลกที่ผ่านมามนุษย์ใช้พลังงานอย่างไม่เหมาะสมและไม่มีประสิทธิภาพจนทำให้แหล่งพลังงานเริ่มร่อยหรอลงส่งผลให้พลังงานยิ่งมีราคาแพงมากขึ้นความตระหนักว่าพลังงานของโลกกําลังจะหมดไปประกอบกับราคาพลังงานที่สูงขึ้นขึ้นเรื่อยๆ
แนวทางการแก้ไขวิกฤตการณ์พลังงาน
มาตรการการศึกษา
มีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
มาตรการรณรงค์ประชาสัมพันธ์
มีการเผยแพร่ความรู้/ข้อมูลทางสื่อมวลชนต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
มาตรการทางกฎหมาย
มีกฎหมายส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กฎหมายด้านภาษีอากร
5.มาตรการทางเทคโนโลยี
ส่งเสริมการคิดค้นพลังงานทดแทน แหล่งพลังงานรูปแบบใหม่
มาตรการทางเศรษฐกิจ
ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
สาเหตุของวิกฤตการณ์พลังงาน
1.ประชากรของโลกเพิ่มมากขึ้น
พลังงานมีไม่เพียงพอ
ขาดการวางแผนและจัดการ
ทำให้การใช้งานไร้ประสิทธิภาพ ไม่คุ้มค่า
การใช้เทคโนโลยีมากและไม่เหมาะสม
สิ้นเปลืองพลังงาน
ขาดการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
ทําให้ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทั้งหลายร่วมกัน
การอนุรักษ์พลังงานของประเทศไทย
แนวคิดในการอนุรักษ์พลังงาน
ด้านเศรษฐกิจ (Economy) คำนึงถึงต้นทุนพลังงานที่มีความเหมาะสมและไม่เป็นอุปสรรค เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานของประเทศไม่ให้เกิด การใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย
ด้านสิ่งแวดล้อม (Ecology) ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผลิตพลังงานทดแทนและเพิ่มประสิทธิภาพในระบบไฟฟ้าทั้งการผลิตไฟฟ้าและการใช้ไฟฟ้า
ด้านความมั่นคงทางพลังงาน (Security) การตอบสนองต่ออัตราการเพิ่มของประชากร อัตราการขยายตัวของเขตเมือง
นโยบายที่เกี่ยวข้อง
2.2 นโยบายที่เกี่ยวข้องในประเทศ
2.2.3 แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561-2580
มีมติให้ปรับปรุงแผน 4 แผน ได้แก่ (1) แผนอนุรักษ์พลังงาน (2) แผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก (3) แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติและ (4) แผนบริหารจัดการน้ำมันเชื้อเพลิง
2.2.1 เป้าหมายการลดการใช้พลังงานที่ผ่านมากระทรวงพลังงานเริ่มใช้ดัชนีความเข้มการใช้พลังงาน
เป็นแนวทาง กำหนดนโยบายและจัดทำแผนอนุรักษ์พลังงานในระยะยาวของประเทศไทย และคณะรัฐมนตรี
2.2.4 เป้าหมายการลดการใช้พลังงานปัจจุบัน
กระทรวงพลังงานได้ทบทวนค่าพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในอนาคต ซึ่งเป็นการ ใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ เช่น น้ำมันสําเร็จรูป ไฟฟ้า เป็นต้น และพลังงานทดแทน
2.2.2 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ซึ่งการกําหนดแผนหรือนโยบายต่าง ๆ จะต้องสอดคล้องทั้งเนื้อหาและระยะเวลา การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรพลังงานที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาระบบขนส่งเพื่อลดต้นทุนทางเศรษฐกิจและสังคม
2.1 นโยบายที่เกี่ยวข้องระหว่างประเทศ
2.1.1 กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (APEC)
การประชุมผู้นำกลุ่มความร่วมมือทาง (APEC) ผู้นำทั้ง 21 เขตเศรษฐกิจ รวมถึงไทย ได้ประกาศปฏิญาณในเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความมั่นคงทางพลังงานและการพัฒนาพลังงานสะอาด โดยใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นและมีเป้าหมาย
2.1.2 การลดก๊าซเรือนกระจก
การจัดทําแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนศักยภาพการดําเนินงานตามแผนที่นําทางการลดก๊าซเรือนกระจก มีการประชุมอย่างต่อเนื่องเพื่อติดตาม การดําเนินการในการลดก๊าซเรือนกระจก
กรอบแนวคิดการจัดทําแผน
การจัดทําแผนอนุรักษ์พลังงาน ได้นําแผนอนุรักษ์พลังงาน มาทบทวนและปรับปรุงเพื่อยกระดับความเข้มข้นของการขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงานและสอดรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทําแผนอนุรักษ์พลังงานได้บูรณาการกับอีก 4 แผนหลักของกระทรวงพลังงาน
(2) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก
(3) แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ
(1) แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย
(4) แผนบริหารจัดการน้ามันเชื้อเพลิงโดยสมมติฐานการคาดการณ์ความต้องการพลังงานในอนาคต
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการแก้ปัญหาด้านพลังงาน
การเปลี่ยนแปลงค่านิยมของมนุษย์ที่มาพร้อม ๆ กับ “เศรษฐกิจแห่งการเจริญเติบโต” จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ สําคัญที่มีผลโดยตรงต่อการเพิ่มขึ้นของการใช้พลังงานไฟฟ้าและพลังงานอื่น ๆ โดยผู้บริโภคมากจะเป็นผู้ใช้พลังงานมาก และ นําไปสู่การล้างผลาญทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในทางตรงข้าม หากรูปแบบการบริโภคของมนุษย์ส่วนใหญ่มุ่งไปที่ “เศรษฐกิจพอเพียง” คือกิจกรรมทั้งหลายยังคงรักษาสมดุลในสภาวะเดิมมากที่สุด
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-11 ยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สร้างสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติและขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อให้การ พัฒนาและบริหารประเทศเป็นไปบนทางสายกลาง วิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล และใช้หลักความพอประมาณ ให้เกิดความสมดุล ระหว่างสังคมชนบทกับเมือง เตรียมระบบภูมิคุ้มกัน
มาตรการ
การอนุรักษ์และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานเป็นมาตรการสําคัญในการแก้ปัญหาวิกฤตการณ์พลังงาน เมื่อคิดอย่างรอบด้านแล้วพบว่าเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ การอนุรักษ์พลังงานมีความเกี่ยวข้องกับแนวคิดและค่านิยมของสังคมมนุษย์ด้วย
จากการใช้พลังงานมากทําให้โลกเกิดอากาศร้อนผิดปกติที่เรียกว่าภาวะโลกร้อนจากปฏิกิริยาเรือนกระจกวิกฤตการณ์พลังงานและวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมจึงมักเกิดขึ้นควบคู่กัน และเป็นปัญหาที่ต้องเร่งค้นหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข พลังงานเป็นปัจจัยสําคัญอย่างหนึ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและเป็นตัวชี้วัดศักยภาพการแข่งขันของประเทศ มาอย่างต่อเนื่องฉบับที่ 1-12
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 12 ได้เน้นถึงการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนการรักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สร้างสมดุลของการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อให้เกิดความมั่นคง สมดุล และยั่งยืน แก้ไขปัญหาวิกฤตพลังงานและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม