Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
กฎหมายสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติส่งเสริมและ
รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ. 2535
โครงสร้างของกฎหมายแบ่งเป็น
7 หมวด
1.คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
กำหนดให้มีการตั้งคณะกรรมการประกอบด้วยรัฐมนตรี 10 ท่าน
2.กองทุนสิ่งแวดล้อม
จัดตั้งขึ้นในกระทรวงการคลัง โดยให้
กรมบัญชีกลางเป็นผู้รับผิดชอบ
3.การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
การกำหมดมาตรฐาน การวางแผนจัดการ
การประกาศเขตอนุรักษ์และพื้นที่คุ้มครอง การทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม
4.การควบคุมมลพิษ
จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมมลพิษ
เพื่อเสนอแผนป้องกันหรือแก้ไขอันตรายจากมลพิษ
5.มาตรหารส่งเสริม
ต่อเจ้าของหรือผู้ครอบครอง
แหล่งกำเนิดมลพิษทางด้าน
อากรขาเข้าของเครื่องจักรอุปกรณ์
6.ความรับผิดทางแพ่ง
กำหนดให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษ มีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้
ค่าเสียหายที่ตนก่อ
7.บทกำหนดโทษ
ผู้ที่ฝ่าฝืนกฎหมาย อาจถูกจำคุกตั้งแต่
1 เดือน ถึง 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 5,000 ถึง 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติโรงงาน
พ.ศ. 2535
โครงสร้างของกฎหมายแบ่งเป็น
3 หมวด
1.การประกอบกิจการโรงงาน
ประเภทของโรงงาน ได้เเบ่งประเภท
ของโรงงานออกเป็น 3 ประเภท
ประเภทที่1 ได้แก่ ชนิดและขนาดที่สามารถ
ประกอบกิจการโรงงานได้ทันที
ประเภทที่2 ได้แก่ ชนิดและขนาดที่เมื่อ
จะประกอบกิจการโรงงานต้องแจ้งให้
ผู้อนุญาตทราบก่อน ส่วนใหญ่ได้แก่
โรงงานขนาดกลาง
ประเภทที่3 ได้แก่ ชนิดและขนาดที่การตั้งโรงงาน จะต้องได้รับใบอนุญาตก่อน จึงจะดำเนินการได้ ส่วนใหญ่ได้แก่โรงงานขนาดใหญ่
2.การกำกับและดูแลโรงงาน
กำหนดให้พนักงานที่มีหน้าที่เข้าไปตรวจสอบสภาพภายในโรงงาน
เก็บตัวอย่างยึดหรืออายัดผลิตภัณฑ์ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่อาจเกิดอันตรายแก่บุคคล
3.บทกำหนดโทษ
ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่
5,000 ถึง 200,000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 2 ปี
หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
กฎหมายแบ่งออกเป็น 16 หมวด
1.บททั่วไป
รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขมีอำนาจ
การออกกฎกระทรวงกำหมดหลักเกณฑ์มาตรฐานสภาวะที่เหมาะสมกับการดำรงชีพ
ของประชาชน
2.คณะกรรมการสาธารณสุข
ตั้งคณะกรรมการสาธารณะสุข โดยมีปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการและกรรมการอีก
17 คน
3.กำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย
เป็นอำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นในการออกข้อกำหนด
ของท้องถิ่น
3.กำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย
เป็นอำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นในการออกข้อกำหนด
ของท้องถิ่น
5.เหตุรำคาญ
เหตุอันก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง
6.การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์
ราชการท้องถิ่นอาจกำหนดให้เป็น
เขตห้ามเลี้ยง เพื่อป้องกันอันตราย
7.กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
รัฐมนตรีสาธารณสุขมีอำนาจกำหนดให้กิจการใดเป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
จะต้องได้รับใบอนุญาต
1 more item...
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
วัตถุอันตราย หมายความว่าวัตถุ ดังต่อไปนี้
1.วัตถุระเบิดได้
2.วัตถุไวไฟ
3.วัตถุออกซิไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซต์
4.วัตถุมีพิษ
5.วัตถุที่ทำให้เกิดโรค
6.วัตถุกัมมันตรังสี
7.วัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางพันธุกรรม
8.วัตถุกัดกร่อน
9.วัตถุที่ทำให้เกิดการระคายเคือง
10.วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งที่เป็นอันตรายต่อบุคคล
กฎหมายแบ่งออกเป็น
4 หมวด
1.คณะกรรมการ
วัตถุอันตราย
2.การควบคุมวัตถุอันตราย
3.หน้าที่และความรับผิดชอบ
ทางแพ่ง
4.บทกำหนดโทษ ผู้ฝ่าฝืน
อาจถูกปรับตั้งแต่ 10,000 ถึง 1,000,000 บาท หรือจำคุก