Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Dx. Bronchitis - Coggle Diagram
Dx. Bronchitis
การรักษา
-
การรักษาเฉพาะ
โดยการให้ยาปฏิชีวนะที่จำเพาะต่อเชื้อ เช่น กลุ่มเพนนิซิลลิน เอมอกซี่ซิลลิน หรือ คล็อกซาซิลลิน (Cloxacillin) เป็นต้น
การรักษาของผู้ป่วย
- on cannula 1 LPM c PT+suction
- NSS 4 ml NB q 4 hrs
- Bromhexine syrup (4 mg/5ml) sig 1ml ok tid pc
พยาธิสรีรภาพ
ตามทฤษฎี
การติดเชื้อที่เยื่อบุหลอดลมแยกทำให้เกิดการอักเสบ ซึ่งต่อมาอาจลุกลามไปยังส่วนของทางเดินหายใจขนาดเล็ก ต่อมมูกมีขนาดโตและเพิ่มจำนวน มีการทำงานขนกวัด มีการแทรกซึมของเซลล์เม็ดขาว เช่น polymorphonuclear leukocyte เข้าไปในหลอดลม ส่งผลให้เกิดเสมหะเป็นหนอง
-
อาการและอาการแสดง
ตามทฤษฎี
อาการแสดงที่ตรวจพบขึ้นกับอายุของผู้ป่วยและระยะของโรค โดยระยะแรกมักตรวจพบไข้ต่ำ มีน้ำมูก คัดจมูก เยื่อบุตาอักเสบ คอแดงในระหว่างการดำเนินของโรค อาการการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนจะลดลง ในระยะต่อมาจะไอมากขึ้น ฟังปอดได้ยินเสียง harsh breath sound เมื่อมีเสมหะมากขึ้น อาจฟังปอดได้ยินเสียง rhonchi หรือ coarse crepitation (crackle) ไม่มีหายใจเร็วหรือหายใจ อกบุ๋ม ผู้ป่วยที่มีโรคหืดร่วมหรือเด็กเล็กที่มีเสมหะอุดกั้นในหลอดลมอาจตรวจได้ยินเสียง wheeze ร่วมด้วยในรายที่มีสาเหตุจากMycoplasma pneumoniae มักมีอาการไอมาก แต่ตรวจพบเสียงผิดปกติของปอดน้อยโดยทั่วไปอาการหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน มักหายภายใน 2 สัปดาห์และสามารถหายได้เอง
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วย มีน้ำมูก ไอเล็กน้อย หายใจเร็ว mild retraction
มีเสมหะ และฟังเสียงปอดได้ยินเสียง secretion both lung
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติ รวมทั้งอาการและอาการแสดง การตรวจร่างกาย ฟังปอดได้เสียงิดปกติในระยะที่มีเริ่มอาการไอ โดยได้ยินเสียง rhonchi, เสียงหายใจดังผิดปกติ, มีเสียง wheeze และ coarse crepitation การถ่ายภาพรังสี อาจพบว่าผิดปกติ หรือมีลักษณะ increase bronchial marking
การวินิจฉัยของผู้ป่วย
-
ผู้ป่วย มีน้ำมูก ไอเล็กน้อย หายใจเร็ว mild retraction
มีเสมหะ และฟังเสียงปอดได้ยินเสียง secretion both lung
ความหมาย
การอักเสบเยื่อบุชั้น mucosa ของหลอดลมใหญ่และหลอดลมแยก ซึ่งเป็นทางเดินหายใจขนาดใหญ่ มักเกิดจากไวรัสและมีการไอ จะดีขึ้นในเวลา 3 สัปดาห์โดยไม่ได้รับการรักษา
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนที่พบ ได้แก่ การติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน ปอดแฟบใน รายที่มีการระบายเสมหะไม่ดี มีเสมหะคั่งค้างอาจเกิดเป็นหลอดลมอักเสบเรื้อรัง หรือโรคปอดเรื้อรังตามมาได