Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
7.1 กฎหมายสิ่งแวดล้อม
กฎหมายสิ่งแวดล้อม (Environmental Law) หมายถึง กำหมายประเภทหนึ่งโดยตราขึ้นเพื่อการอนุรักา์สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ได้มีประกาศใช้กฎหมายหลายฉบับใน พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นการปรับปรุงกฎหมายฉบับเก่าที่มีมานานแล้วให้ทันสมัยและมีลงโทษมากยิ่งขึ้น
1.พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พระราชบัญญัติฉบับนี้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2535 โดยยกเลิกฉบับเก่าซึ่งใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 โครงสร้างของกฎหมายแบ่งเป็น 7 หมวด คือ
1.1 คณะกรรมการสิ่งแวดแห่งชาติ
1.2 กองทุนสิ่งแวดล้อม
1.3 การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
1.4 การควบคุมมลพิษ
1.5 มาตรการส่งเสริม
1.6 ความรับผิดทางแพ่ง
1.7 บทกำหนดโทษ
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติฉบับนี้ แบ่งโรงงานเป็น 3 ประเภทใหญ่ เพื่อสะดวกในการควบคุมและกำกับดูแล โครงสร้าของกฎหมายแบ่งเป็น 3 หมวด ได้แก่
2.1 การประกอบกิจการโรงงาน
2.2 การำกับและดูแลโรงงาน
2.3 บทกำหนดโทษ
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติฉบับบนี้ยกเลิกใช้ พระราชบัญญัติการสาธารณสุขฉบับที่มีใช้มาแต่ พ.ศ. 2527 และพระราชบัญญัติควบคุมการใช้อุจจาระและปุ๋ยที่มีใช้ พ.ศ 2497 แบ่งออกเป็น 16 หมวดดังนี้
3.1 บททั่วไป
3.2 คณะกรรมการสาธารณสุข
3.3 กำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย
3.4 สุขลักาณะของอาคาร
3.5 เหตุรำคาญ
3.6 กาารควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์
3.7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
3.8 ตลาด
3.9 การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ
3.10 อำนาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข
3.11 หนังสือรับรองการแจ้ง
3.12 ใบอนุญาต
3.13 อัตราธรรมเนี่ยมค่าปรับ
3.14 การอุทธรณ์
3.15 บทกำหนดโทษ
3.16 บทเฉพาะกาล
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
พระราชบััญญัตินี้ให้ยกเลิกเลิกพระราชบัญญัติเก่าที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2510 และ พ.ศ. 2516
7.2 กฎหมายอนุรักษ์พลังงาน
ในปัจจุบันความต้องการใช้พนักงานเพื่อตอบสนองการเจริญเติมโตทางเศรษบกิจและสังคมของประเทศได้เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูง ทำให้ประเทศต้องลงทุนเพื่อจัดหาพลังงานทั้งในและนอกประเทศไว้ใช้ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นดังกล่าว และปัจจุบันการดำเนินการอนุรักษ์พลังงานเพื่อให้มีการผลิตและการใช้พลังงานอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการก่อให้เกิดการผลิตเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดและวัสดุที่ใช้ในการอนุรักษ์พลังงานขึ้นภายในประเทศนั้น ยังไม่สามารถเร่งรัดดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายได้ ดังนั้นกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) จึงได้ยกร่างกฎหมายส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานขึ้นมา เพื่อกำหนดมาตรการในการกำกับ ดูแล ส่งเสริม และช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้พลังงาน
กฎหมายอนุรักษ์พลังงานมีชื่อเต็มว่า "พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2535 และมีผลให้บังคับใช้ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
7.3 การอนุรักษ์พลังงาน
การอนุรักษ์พลังงาน คือ การผลิตและการใช้พลังานย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดการอนุรักษ์พลักงานนอกจากจะช่วยลดปริมาณการใช้พลังงาน ซึ่งประหยัด ค่าใช้จ่ายในกิจการแล้วยังจะช่วยลดปัญห่สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากแหล่งที่ใช้และผลิตพลังงานด้วย กรสร้างนโยบายด้านพลังงานของรัฐบาลเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า
แนวทางการอนุรักษ์พลังงาน
การใช้พลังงานอย่างประหยัดและคุ้มค่าโดยการสร้างค่านิยมและจิตใต้สำนึกการใช้พลังงานการใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่าจะต้องมีการวางแผนและควบคุมการใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพและเกิดปนะโยช์สูงสุดมีการลดการสูญเสียพลังงานทุกขั้นตอน มีการตรวจสอบและดูแลการใช้เครืื่องใช้ไฟฟ้าตลอดเวลาเพื่อลดการรั่วไหลของพลังงาน
นโยบายพลังงานของประเทศไทย
พัฒนาพลังงานให้ประเทศไทยสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น
ดำเนินการให้นโยบสยด้านพลังงานทดแทนเป็นวาระแห่งชาติ
กำกับดุแลราคาพลังงานให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม มีเสถียรภาพ และเป็นธรรมต่อประชาชน
ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงงาน ทั้งในภาคครัวเรือน อุตสาหกรรม บริการ และขนส่ง
ส่งเสริมการจัดหาและการใช้พลังงานที่มีความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม