Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างนวัตกรรมทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในสถานศึกษา - Coggle Diagram
การสร้างนวัตกรรมทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในสถานศึกษา
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยุค 4.0 สำหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ความสำคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ช่วยให้บุคคลที่ปฏิบัติงานในองค์การมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานเกิดความจงรักภักดีต่อองค์การที่ตนปฏิบัติงาน
ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงแก่สังคมและประเทศชาติถ้าการบริหารทรัพยากรมนุษย์ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว
ช่วยพัฒนาองค์การให้มีความเจริญเติบโตเพราะการบริหารทรัพยากรมนุษย์เป็นสื่อกลางในการทำงานขององค์การ
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยุค 4.0 สำหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การวางแผนกำลังคนขององค์การ
การสรรหาและคัดเลือก
นโยบายการจัดการทรัพยากรมนุษย์
การจ้างงานและผลตอบแทน
การฝึกอบรมและพัฒนา
การธำรงรักษาคนในองค์การ
เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุค 4.0
การใช้ประโยชน์จากสื่อสังคม (SocialMedia)
การประชุมทางวีดิทัศน์
เทคโนโลยีการเก็บข้อมูลแบบออนไลน์
เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ
บทบาทนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุค 4.0
ต้องรู้จักการบริหารความหลากหลายของคนหลายกลุ่มในองค์การ
เรียนรู้แนวคิดด้านการตลาด
มีความยืดหยุ่นในการทำงาน
เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆอยู่เสมอ
ทำงานแบบมืออาชีพ
มีความรู้เรื่องสื่อสังคม
มีทักษะด้านการวิเคราะห์ข้อมูลก่อนนำไปใช้
ส่งเสริมการพัฒนาคนในองค์การ
ปรบเปลี่ยนแนวคิดในการคัดเลือกคนในองค์การ
ปรับระบบการจ้างงานให้เหมาะสมกับองค์การ
นวัตกรรมด้านค่าตอบแทนและพนักงานสัมพันธ์ (Innovative Compensation & Employee Relation)
นวัตกรรมด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
โดยการฝึกอบรม (Training)
นวัตกรรมการฝึกอบรมและพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ในยุคดิจิทัล
เปลี่ยนจากวิทยากรมาเป็น “โค้ช” ซึ่งจะท าหน้าที่ทั้งเป็นวิทยากร ที่ปรึกษา พี่เลี้ยง
การฝึกอบรมรูปแบบ E-learning ซึ่งการอบรม
จะเพิ่มศักยภาพของพนักงาน แล้วยังสร้าง
ความสะดวกให้แก่พนักงานในการเลือกช่วงเวลาการฝึกอบรม
อบรมทุก 6 เดือนหรือ 1 ปี ท าการเรียนไปทีละหัวข้อและให้เวลา
นำไปปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะ ๆ
ใช้เทคนิคจับเข่าคุยกัน เป็นเวทีล้อมวงคุยกัน กินไปคุยไป
ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันหรือการใช้เทคนิค World Cafe
ขั้นตอนการฝึกอบรม
ขั้นตอนที่ 3 การเลือกเทคนิคการฝึกอบรม
ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการฝึกอบรม
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนและพัฒนาการฝึกอบรมข้อมูลต่าง ๆ
ที่ได้จากการวิเคราะห์ความต้องการในขั้นตอนแรก
ขั้นตอนที่ 5 ติดตามและประเมินผลการฝึกอบรม
ขั้นตอนที่ 1 การสำรวจความต้องการการฝึกอบรม
เป็นสิ่งจำเป็นก่อนการจัดฝึกอบรมจริง
นวัตกรรมด้านค่าตอบแทนและ
พนักงานสัมพันธ์
(Innovative Compensation &
Employee Relation)
ลักษณะรูปแบบ
ลดเวลาการทำงานลง โดยให้พนักงานได้มีเวลาส่วนตัวมากขึ้น
จัดช่วงเพชฌฆาตความเครียด เพื่อเปลี่ยนบรรยากาศ
การทำงานที่ตึงเครียด
ไม่มุ่งเน้นการจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินอย่างเดียว
ความหมาย
นวัตกรรมด้านค่าตอบแทนและพนักงานสัมพันธ์ ถือเป็นปัจจัย
ที่ความสำคัญอย่างยิ่งในการทำงานของบุคคลในองค์การ
เพราะไม่ว่างจะค่าตอบแทนในรูปแบบของเงินเดือน
สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ รวมถึงการเข้าใจความสัมพันธ์
อันดีระหว่างผู้บริหารกับบุคลากรในองค์กร
นวัตกรรมด้านค่าตอบแทนและ
พนักงานสัมพันธ์ในยุคดิจิทัล
ควรนำนวัตกรรมรูปแบบ “Contingent Workforce” มาใช้ในกรณีที่มีการขาดแคลนแรงงานหรือในกรณีที่เกิดปัญหาข้อพิพาทแรงงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ซึ่งจะเป็นวิธีการที่มความยืดหยุ่น สามารถมีแรงงาน
ที่พร้อมใช้งานได้ทันที
นวัตกรรมด้านการสรรหาและคัดเลือก (Innovative Recruitment&Selection)
ขั้นตอนการสรรหาคัดเลือก
การสรรหา โดยเน้นให้ผู้ที่มีคุณสมบัติ
ตามประกาศรับสมัครมาสมัครให้มากที่สุด
การเลือกสรร เป็นกระบวนการพิจารณาความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลซึ่งสามารถทดสอบหรือวัดได้
การกำหนดคุณลักษณะของบุคคลที่ต้องการจะต้องพิจารณาถึงบทบาทหน้าที่หลัก มีการวิเคราะห์งาน
การติดตามและประเมินผล เป็นกระบวนการเพื่อ
วัดประสิทธิภาพของระบบการ สรรหาและเลือกสรร
การวางแผนการสรรหาและเลือกสรร ซึ่งมีการจัดทำแผนปฏิบัติงาน โดยต้องอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับภาระหน้าที่ นโยบายและ
เป้าหมายของหน่วยงาน
การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
โดยใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence หรือ AI)
การนำระบบปัญญาประดิษฐ์เข้ามาใช้สำหรับการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรซึ่งประกอบไปด้วย การสร้างอัลกอริทึม (Algorithm) ช่วยค้นหาคนที่เหมาะสม ผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ที่หลากหลาย เช่น Facebook Instagram Twitter LinkedIn และ LINE
นวัตกรรมด้านการสรรหาและคัดเลือก
ทรัพยากรมนุษย์ในยุค HR 4.0
Employer Branding – การสร้างแบรนด์ลักษณะ
นายจ้างให้เป็นที่จดจำ
Specific Experience – ประสบการณ์พิเศษ
เฉพาะด้าน / ประสบการณ์เฉพาะกิจ
Recruitment Marketing – การตลาดเพื่อการสรรหาทรัพยากรบุคคล กลยุทธ์ในการสรรหา ที่จะสื่อสารอย่างไรให้โดนใจ
Social Media Recruiting – การสรรหา
ทรัพยากรมนุษย์ผ่านโซเชี่ยลมีเดีย
นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์ HRIS (Human Resource Information System)
ระบบที่นำมาใช้
ระบบงานด้านการค านวณเงินเดือน (Payroll)
ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Evaluation)
ระบบการตรวจสอบเวลา (Time Attendance)
ระบบงานพัฒนาและฝึกอบรมบุคลากร (Training and Development)
ระบบงานทะเบียนประวัติ(Central Database)
ระบบงานสวัสดิการต่าง ๆ (Welfare)
ระบบการสรรหาบุคลากร (Recruitment)
ระบบการลา
ระบบงานวางแผนกำลังคน (Man Power Planning)
รูแปบบการทำงานของบุคลากรในบริบทใหม่ new normal
การประชุมออนไลน์ โดยใช้แพลตฟอร์มต่างๆเช่น Zoom, Microsoft Team,Google meet
การติดต่อสื่อสารและเช็คอินสมาชิกในทีมหรือในองค์กร ได้แก่ Line,Facebook Messenger และ Google Hangout
การทำงานร่วมกันในสำนักงานด้วยโปรแกรมสำนักงาน โดยสามารถแก้ไขงานพร้อมกันได้ ทำงานบรระบบคลาวด์ เช่น Google G-site
ระบบรวบรวมไฟล์หรือเอกสารงานต่างๆ มีการใช้ไฟล์ร่วมกันที่สามารถเข้าถึงได้โดยมักใช้ระบบคลาวด์ เช่น Google Drive,Dropbox,Onedrive,Coda
ความสำคัญของนวัตกรรม
ระยะของนวัตกรรม
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน(Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์
ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย
พัฒนาการของนวัตกรรม
ยุคเริ่มแรก (ค.ศ.1770-1840)อังกฤษเป็นประเทศแรกและเป็นผู้นำของโลกนวัตกรรมและเทคโนโลยีในยุคนี้ เนื่องจากพัฒนาระบบกลไกทางกลศาสตร์
ยุคที่สอง (ค.ศ.1840-1890)อังกฤษครองความเป็นผู้นำทางด้านนวัตกรรมในการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น พลังไอน้ำ
ยุคที่สาม (ค.ศ.1890-1930)สหรัฐอเมริกาและเยอรมันได้เร่งส่งเสริมการมีนวัตกรรมใหม่ๆจนสามารถก้าวขึ้นเป็นผู้นำทางเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมไฟฟ้า เคมี
การถลุงเหล็ก การต่อเรือ และอุตสาหกรรมหนักอื่นๆ
ยุคที่สี่ (ค.ศ.1930-1970)ญี่ปุ่นเร่งส่งเสริมให้มีการส่งเสริมนวัตกรรมกระบวนการผลิตขนาดใหญ่ (Mass production) เช่น เทคโนโลยีการผลิตรถยนต์
ยุคที่ห้า (ค.ศ.1970-ปัจจุบัน)สหรัฐอเมริกาจัดให้มีการส่งเสริมนวัตกรรมรวมไปถึงการออกกฎหมาย เพื่อส่งเสริมให้เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางด้านการสื่อสาร คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีดิจิตอล
ความหมาย
การนำความรู้และความคิดสร้างสรรค์มาใช้ในการสร้างสิ่งใหม่ๆหรือสิ่งเดิมที่มีอยู่ให้ดียิ่งขึ้น
ประเภทของนวัตกรรม
ประเภทที่ 1
นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (product innovation)
นวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ที่จับต้องได้ (Tangible product)
ผลิตภัณฑ์ที่จับต้องไม่ได้ (intangible product)
ประเภทที่ 2
นวัตกรรมกระบวนการ (process innovation)
กระบวนการทางเทคโนโลยี(technological process innovation)
นวัตกรรมกระบวนการทางองค์การ (organizational process innovation)
ปัจจัยและความสัมพันธ์ระหว่าง
การบริหารทรัพยากรมนุษย์และนวัตกรรม
การมีส่วนร่วมในนวัตกรรม (high involvement in innovation)
มักจะเกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านเทคนิค
ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ (effective team working)
สร้างสรรค์และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหา
การฝึกอบรมและพัฒนา (stretching training and development)
เนื่องจากความรู้ และทักษะมีความสำคัญต่อการสร้างนวัตกรรม
บรรยากาศที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ (creative climate)
ความคิดสร้างสรรค์เกิดจากบรรยากาศการทำงาน
บุคลากรที่มีความสำคัญ (key individual) บุคลากรเหล่านี จะทำให้องค์การได้รับชัยชนะหรือประสบความสำเร็จ
ปัจจัยภายนอก (external focus) โดยการพัฒนาการกำหนดทิศทางจากภายนอก
โครงสร้างองค์การที่เหมาะสม (appropriate organization structure)ลักษณะโครงสร้างที่เหมาะสมหรือสนับสนุนให้
เป็นองค์การที่ประสบความสำเร็จ
การขยายการสื่อสาร (extensive communication)
มีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย
วิสัยทัศน์ร่วม ผู้นำและการมุ่งไปสู่นวัตกรรม
องค์การแห่งการเรียนรู้ (learning organization)
การเรียนรู้และการถ่ายโอนความรู้ได้