Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การซักประวัติหญิงตั้งครรภ์, ปัจจัยเสี่ยง หญิงตั้งครรภ์ อายุ 35 ปี, นศพต…
การซักประวัติหญิงตั้งครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
11 แบบแผนสุขภาพกอร์ดอน
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
หญิงตั้งครรภ์ รู้สึกตัวดี รับรู้วันเวลาสถานที่ การรับรู้ปกติ รู้สึกดีใจที่ตั้งครรภ์ในครั้งนี้
แบบแผนที่ 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
รับรู้ว่าตนเองตั้งครรภ์ รูปร่า่งและเต้านมจะมีการขยายใหญ่มากขึ้น
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
เข้านอน 23.00 น. ตื่นนอน 7.00 น.นอนวันละ 8 ชั่วโมง นอนหลับสนิท ไม่มีอาการอ่อนเพลียหลังตื่นนอน
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
มีสัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัวและเพื่อน
แบบแผนที่ 4 กิจวัตรประจำวันและการออกกำลังกาย ก่อนตั้งครรภ์เล่นฮูลาฮูป สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง
ครั้งละ 15-30 นาที ขณะตั้งครรภ์ ออกกำลังกายด้วยการเดิน 10-15 นาที และการทำงานบ้าน
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์ ก่อนตั้งครรภ์มีประจำเดือนสม่ำเสมอ ไม่มีการคุมกำเนิดเนื่องจากตั้งใจมีบุตร
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย ก่อนตั้งครรภ์ปัสสาวะ สีเหลืองใส ไม่มีตะกอน วันละ 4-5 ครั้ง/วัน อุจจาระวันละ 1ครั้ง ขณะตั้งครรภ์ปัสสาวะ วันละ 7-10 ครั้ง/วัน อุจจาระวันละ 1 ครั้ง ควบคุมการชับถ่ายได้ ไม่มีท้องอืดท้องผูก
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์ ตั้งใจมีบุตร อาบน้ำวันละ 2 ครั้ง สระผมวันเว้นวัน ไม่ดื่มสุราไม่สูบบุหรี่
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร ก่อนตั้งครรภ์รับประทานอาหารครบ 3 มื้อ ครบ 5 หมู่ ค่า BMI เกินเกณฑ์เล็กน้อย เมื่อตั้งครรภ์ดื่มนมทุกวัน รับประทานอาหาร 3 มื้อหลักและมีมื้อย่อยระหว่างวัน ไม่มีแพ้ยา ไม่มีแพ้อาหาร ดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว
แบบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียด เมื่อมีความเครียดสามารถปรึกษาสามีและเพื่อนได้
แบบแผนที่ 11 ความเชื่อ หญิงตั้งครรภ์มีความเชื่อในการดูแลตนเองโดยไม่ขัดกับการรักษาของแพทย์
ข้อมูลส่วนบุคคล
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 35 ปี G2P0010 อาชีพพนักงานบริษัท
LMP 2 ธันวาคม 2564 x 3 EDC by date 8 กันยายน 2565 GA 10+3 wks น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 62
kg. ส่วนสูง 155 cm. BMI 25.81 kg/m2
น้ำหนักขณะตั้งครรภ์ 66 kg ปฏิสธประวัติการเจ็บป่วย ประวัติครอบครัว บิดาเป็นความดันโลหิตสูง
อาของหญิงตั้งครรภ์มีลูกแฝด
ไม่ได้รับวัคซีนบาดทะยัก
ประวัติการตั้งครรภ์ ปี2561 อายุครรภ์ 2 เดือน คลอด spontaneous abortion และได้รับการขูดมดลูก ที่รพ.กลาง
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (11/02/64)
GCT 161 mg/dL (ค่าปกติ >140 mg/dL )
ปัจจัยคัดกรอง GDM
อายุ 30 ปีขึ้นไป
ปัจจัยเสี่ยง หญิงตั้งครรภ์ อายุ >30 ปี เสี่ยงเป็นเบาหวาน
GDM
การดูแล
การออกกำลังกายระหว่างตั้งครรภ์
นับเด็กดิ้นเมื่อ GA 28 สัปดาห์
US เมื่อ GA 36 Wks. เพื่อ Estimate นน.ทารกในครรภ์พิจารณาแนวทางการคลอด
เฝ้าระวัง PIH
ให้คลอดที่ GA 38 – 40 Wks.
Diet control
มาตรวจติดตามค่า OGTT
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
Abortion,Fetal death,Congenital malformations,Macrosomia,Renal vein thrombosis,Hypertrophic Cardiomyopathy,IUGR,hypoglycemia,hypercalcemia
ผลกระทบต่อมารดา ครรภ์เป็นพิษ,คลอดยาก, hypoglycemia,hyperglycemia,Diabetic ketoacidosis,PIH,การติดเชื้อได้ง่าย,ครรภ์แฝดน้ำ
อาการ : หิวบ่อย กระหายน้ำ ปัสสาวะบ่อย
น้ำหนักเพิ่มมากกว่าเกณฑ์
มีญาติสายตรงเป็นเบาหวาน มีประวัติทารกเสียชีวิตในครรภ์ ตรวจพบมีภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์หรือมีประวัติโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง เคยพบภาวะตั้งครรภ์แฝดน้ำ
BMI >27 kg/m2
มีประวัติทารกตายคลอดไม่ทราบสาเหตุ เคยแท้งติดต่อกัน 3 ครั้งขึ้นไป
เคยมีเบาหวานขณะตั้งครรภ์,ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ 1+ ขึ้นไป
มีประวัติคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม
มีประวัติทารกพิการโดยกำเนิด
มารดาเป็น HIV
GCT >140 mg/dL
คัดกรอง OGTT เมื่ออายุครรภ์24-28สัปดาห์
อยู่ในค่าปกติ ไม่มีความเสี่ยงGDM
(ค่าปกติ 95,180,155,140)
ในกรณีผลตรวจค่า OGTT ผิดปกติ 1 ค่า ให้ตรวจซ้ำ ภายใน 1 เดือน ในกรณีผลตรวจ OGTTปกติทุกค่า ให้ตรวจซ้า อีกเมื่ออายุครรภ์24-28 สัปดาห์
GCT <140 mg/dL
วินิจฉัย OGTT ใน 1 สัปดาห์ต่อมา
CBC
Hb 11.8 g/dL (ค่าปกติ > 11 g/dL ) Hct 36.5 %(ค่าปกติ > 33%)
MCV 62.2 fL (ค่าปกติ 80-100fL )
MCH 20.2 pg (ค่าปกติ 27-31 pg)
RDW 16.1%(ค่าปกติ 11.9-16.5%)
Neutrophil 80 % (ค่าปกติ 48.2-71.2%)
Lymphocyte 16 (ค่าปกติ 21.1-42.7%)
Screening Test for Thalassemia Hb E Screening (DCIP) Positive
จำแนกThalassemia
Major Thalassemia
ทารกมักเสียชีวิตก่อนคลอด หากมีชีวิตหลังคลอดมักมีความผิดปกติทางสมอง
ยุติการตั้้งครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 24 wks ได้
Homozygote ( --/-- )หรือ Hb Bart, Hydrop fetalis ทำให้ทารก บวมน้ำ หัวใจโต
Homozygous beta-thalassemia ซีดตั้งแต่ขวบแรก อ่อนเพลีย ตับม้ามโต ท้องป่อง
beta-thalassemia / Hb E บางราย
Intermedia Thalassemia : สามารถตั้งครรภ์ต่อได้
โดยได้รับการถ่ายเลือด
beta-thalassemia / Hb E บางราย
Homozygote Hb CS
Hb H Disease with Hb CS และ Hb H Disease
Minor Thalassemia : สามารถตั้งครรภ์ได้ไม่ต้องรักษา
Hb E trait
Homozygote HbE
พาสามีมาตรวจ
DCIP Positive
Hb typing เพื่อหา Major Thalassemia
หากพบต้องปรึกษาแพทย์เพื่อยุติการตั้งครรภ์
ก่อนอายุครรภ์ 24 wks
DCIP negative
ปกติ
MCV
HBs Ag Negative VDRL non-reactive
ABO Group B
Rh Group Positive
Ab Screening Negative
UA
glucose Negative
Albumin Negative
R.B.C. not found
W.B.C. not found
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
Positive signs : ได้ยินเสียงหัวใจทารก U/S ครั้งแรกเมื่อ 11/02/65
Probable signs : ตรวจ Pregnancy test พบ 2 ขีด หน้าท้องขยายใหญ่ขึ้น
Presumptive signs :
ขาดประจำเดือน
LMP 2 ธันวาคม 2564
ปัสสาวะบ่อย 7-10 ครั้ง/วัน
อ่อนเพลีย อยากนอนทั้งวัน
คลื่นไส้อาเจียน
คำแนะนำ
-รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย แบ่งเป็นรับประทาน 4-6 มื้อ ให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ควบคุมอาหาร ลดอาหารและผลไม้ที่มีน้ำตาลสูง ให้รับประทานคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น ตับ เลือดหมู ผักใบเขียว และควรรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กพร้อมอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น มะขามป้อม ฝรั่ง มะปรางสุก จะช่วยให้ดูดซึมธาตุเหล็กได้ดีขึ้น หลีกเลี่ยงอาหารหมักดอง งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด
-เน้นย้ำความสำคัญของการฝากครรภ์ แนะนำให้มาตามนัดทุกครั้งเพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ติดตามผล OGTT ในสัปดาห์ถัดไป
-แนะนำให้ฉีดวัคซีน dT ให้ครบ 3 เข็ม
-ออกกำลังกาย วันละ 15-20 นาที เช่น เดินเกว่งแขน ว่ายน้ำ ออกกำลังกายในน้ำ (Hydrotherapy) ปั่นจักรยานแบบขี่อยู่กับที่ เต้นแอโรบิค เดินหรือแอโรบิคในน้ำ (Aquatic Treadmill Exercise) โยคะท่าง่ายๆ
ปัจจัยเสี่ยง หญิงตั้งครรภ์ อายุ 35 ปี
Elderly Pregnancy
ผลกระทบทางด้านร่างกาย
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การสูญเสีย
ทารกในระหว่าง 20 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน รกเกาะต่ำในตั้งครรภ์หลัง
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
ได้แก่ ตั้งครรภ์แฝด ตั้งครรภ์นอกมดลูก
ปัญหาในระยะคลอด ได้แก่ preterm c/s
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกกลุ่มอาการดาวน์
เจาะน้ำคร่ำ ก่อนอายุครรภ์ 24 wks
คัดกรองเจาะ BioMarker
ทารกมีน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม
อัตราการตายปริกำเนิดของทารก(Perinatal mortality rate) หรือ จำนวนการตายของทารกที่มีน้ำหนักอย่างน้อยระหว่าง 500-1,000กรัม หรืออายุครรภ์อย่างน้อย 22 wks เต็มถึงน้อยกว่า 7 วันหลังคลอด
ผลกระทบทางด้านจิตสังคม
ความเครียดและวิตกกังวลต่อสุขภาพตนเองและทารก หญิงตั้งครรภ์จะรับรู้ความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุมากมักมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับผลของการคลอดที่อาจไม่เป็นไปตามความคาดหวัง วิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดคลอดบุตร ปัญหาเกี่ยวกับช่องทางคลอดที่อาจยืดหยุ่นไม่ดี
นศพต.ทัศนียาพร ฤทธิ์นาคา เลขที่ 27