Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 เรื่อง...การสื่อสารสาธารณะ (Public communication), นางสาวฟิรดาวส์…
บทที่ 7 เรื่อง...การสื่อสารสาธารณะ (Public communication)
เป็นการสื่อสารเพื่อการเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงทางสังคม
หลักการและเหตุผล
การสื่อสารไม่ได้เป็นเพียง “ตัวกลาง” แต่มี
เป้าหมายต้องวางแผนจัดการ
สร้างสรรค์อย่างเป็นระบบบนฐานคิดที่การสื่อสารไม่ใช่แค่การสื่อสารในลักษณะใครทำอะไรที่ไหนอย่างไรและเมื่อไหร่
ต้องนำไปสู่การเคลื่อนไหว
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
บทบาทหน้าที่ของการสื่อสารสาธารณะ
เสริมสร้างค่านิยมที่รู้เท่าทัน
เสริมสร้างค่านิยมสังคมอุดมปัญญา
เสริมสร้างค่านิยมทางวัฒนธรรม
เสริมสร้างค่านิยมสังคมชุมชน
การสื่อสารสาธารณะ ไม่ได้มีกลุ่มเป้าหมายเพื่อคนทั่วไปเท่านั้นแต่ต้อง
สื่อสารตรงไปยังผู้เกี่ยวข้อง
หน่วยงานที่รับผิดชอบ ด้วยรูปแบบการนำเสนอที่หลากหลาย
การสื่อสารสาธารณะ ต้องทำควบคู่ไปกับการใช้ “สื่อ”
ผลักดันการสื่อสารในระดับที่เป็นมวลชน เพื่อเพิ่มแรงขับที่ส่งผลกระทบ
สร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ภาพลักษณ์ของ “นักสื่อสารสาธารณะ” (Brand Image of Public communicator)
คุณสมบัติพื้นฐาน
(1) มีความรู้ในเรื่องนั้นๆดีเพียงพอ
(2) เข้าใจประเด็นและนัยต่างๆของเนื้อสารที่นำเสนออย่างเหมาะสมกับกาลเทศะนั้นๆ
(3) ตระหนักถึงระดับแห่งความน่าเชื่อถือของแหล่งอันเป็นที่มาของข้อมูลและบทสรุปในข้อคิดเห็นที่นำเสนอ
(4) ยอมรับว่าเรื่องราวที่นำเสนออาจจะมีมุมมองอื่นๆได้อีกหลายด้านตามหลักของความหลากหลายทางความคิด ไม่ใช่อะไรที่มีด้านเดียว แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกมุมมองมีความถูกต้องเท่าๆกัน
นักสื่อสารสาธารณะ ต้องคัดเลือกและนำเสนอสารอย่างเป็นธรรม เคารพความเที่ยงตรง โดยจะต้องซึมชับการใฝ่หาความยุติธรรมจนกลายเป็นนิสัย (habit of justice ) ไม่เจาะจงตกแต่งหรือบิดเบือนความคิดตามลีลาของนักโฆษณาชวนเชื่อ ภารกิจของนักสื่อสารสาธารณะ คือ การสร้างความเสมอภาคแห่งโอกาลของความคิดต่างๆ (equality of opportunity among ideas)
นักสื่อสารสาธารณะ ต้องเต็มใจที่จะรับฟังข้อมูลและข้อคิดเห็นอื่นๆ ที่ไม่เหมือนกับของคนเอง แต่ในท้ายที่สุดแล้ว การสื่อสารสาธารณะในแต่ละครั้ง จะต้องไม่เป็นการสูญเสียหลักการที่เชื่อมั่นว่าได้ผ่านการไตร่ครอง คัดกรอง คัดสรร คัดเลือก มาเป็นอย่างดีแล้ว นักสื่อสารถาธารณะที่ทำงานมาอย่างเต็มที่ จะต้องยินดีที่จะประจันหน้ากับการท้าทายใดๆมากกว่าการสมยอมอย่างผิดๆ
การวิเคระห์ผู้รับสารในการสื่อสารสาธารณะ (AudienceAnalysis in Public Communication)
Demographic Background ชื่อ อายุ ที่อยู่ ที่ติดต่อ อาชีพ
Psychographic Background ชอบ ไม่ชอบ ความคิด วิสัยทัศน์ อุดมการณ์
Media Usage พฤติกรรมการเปิดรับสื่อ เปิดรับอย่างไร อยากรับ ไม่อยากรับ รับเวลาใด อารมณ์ใด โอกาสใด จำนวนครั้ง
Consumer Behavior พฤติกรรมการบริโภคบ่อย นานๆครั้ง ประจำ เพิ่งครั้งแรก ครั้งสุดท้าย
ลักษณะทางโครงสร้างของผู้รับสารที่ต้องพิจารณาในการสื่อสารสารารณะ มี 5 กลุ่ม
lnitiator กลุ่มผู้แนะนำ-ซักชวน (เพื่อนบ้าน เพื่อสนิท ญาติ)
lnfluence กลุ่มผู้มีอิทธิพลในการเลือกรับฟัง-รับชม (ครู พ่อ แม่ พระ หมอดู แฟน)
Decision Maker กลุ่มรู้ตัดสินใจเลือกข่าวสาร (คนซื้อ หนังสือพิมพ์/ซีดี) คนหยิบแผ่นใส่เครื่องอ่าน คนเลือกสถานี)
Buyer กลุ่มผู้ง่ายค่าบริการ เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าซื้อ tv ค่าเช่าซีดี
Consumer กลุ่มผู้รับรู้-บริโภค (คนอ่าน/คนดู/คนฟัง)
วัตถุประสงค์ของการสื่อสารสาธารณะ
การให้ข้อมูลข่าวสาร (Information Exchange)
การชักจูงใจ (Persuasion)
เป็นการสื่อสารเพื่อเน้นย้ำ (Reinforce)
นางสาวฟิรดาวส์ ขาวดี รหัสนักศึกษา 6313013063025
สาขา การปกครองท้องถิ่น 63