Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
กฎหมายสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
ตลาด
ร้านขายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร
ต้องได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นก่อน
การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ
ต้องได้รับอนุญาจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น
ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ต่างๆ
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
กิจการใดที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นก่อน
อำนาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข
สามารถเข้าตรวจสอบยึดหรืออายัดสิ่งของที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ออกคำสั่งให้แก้ไข ปรับปรุง หรือหยุดดำเนินการได้
การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์
ราชการท้องถิ่นอาจกำหนดให้เป็นเขตห้ามเลี้ยงสัตว์
เพื่อป้องกันอันตรายจากเชื้อโรคที่ติดสัตว์
หนังสือรับรองการแจ้ง
ต้องแสดงหนังสือไว้ที่เปิดเผย
เหตุรำคาญ
เหตุอันก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อาศัยบริเวณใกล้เคียง
เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจออกคำสั่งระงับได้
ใบอนุญาต
เพื่อขออนุญาตก่อนประกอบกิจการมีอายุ 1 ปี
สุขลักษณะของอาคาร
เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้แก้ไข อาคารมีสภาพรกรุงรังไม่ถูกสุขลักษณะ
หรือมีคนอยู่มากเกินไปจนอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
อัตราธรรมเนียมค่าปรับ
ขอต่อใบอนุญาตล่าช้าอาจถูกปรับ 20 เปอร์เซ็นต์
กำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย
เป็นหน้าที่จองราชการส่วนท้องถิ่นนั้น
เพื่อการเก็บขนและกำจัดปฏิกูลหรือมูลฝอย
การอุทรณ์
มีสิทธิอุทธรณ์ภายใน 3 วัน
คณะกรรมการสาธารณสุข
ให้ตั้งคณะกรรมการสาธารณสุข
มีปลัดกระทรวงสาธารณะสุขเป็นประธานกรรมการและกรรมการอีก 17 คน
บทกำหนดโทษ
อาจถูกปรับตั้งแต่ 500 ถึง 1,000
หรือถูกจำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 6 เดือน
บททั่วไป
ให้รัฐมนตรีออกกฎกำหนดหลักเกณฑ์มาตราฐานสภาวะความเป็นอยู่ของประชาชนตามความเหมาะสม
มีวิธีดำเนินการเพื่อตรวจสอบและควบคุม
บทเฉพาะกาล
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
การวางแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม
การประกาศเขตอนุรักษ์และพื้นที่คุ้มครอง
การกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม
การทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
อยู่ในการกำกับดูแลของคณะกรรมการ
โดยมีรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์เป็นผู้ปฏิบัติการ
การควบคุมมลพิษ
มีปลัดกระทรวงวิทยาศาตร์เป็นประธาน
เพื่อเสนอแผนปฎิบัติการป้องกันหรือแก้ไขอันตรายจากมลพิษ
ให้คำแนะนำในเรื่องการควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด
ประกาศการควบคุมมลพิษทาง อากาศและเสียง ทางน้ำอื่นๆและของเสียอันตราย
มาตราการส่งเสริม
ผู้ครอบครองแหล่งมลพิษทางด้านอากรขาเข้าของเครื่องจักรอุปกรณ์
การขอนำผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศเข้ามาปฏิบัติหน้าที่โดยยื่นต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
ความรับผิดทางแพ่ง
ผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษรับผิดชอบค่าเสียหายที่ตนเองก่อขึ้น
บทกำหนดโทษ
ฝ่าฝืนอาจถูกจำคุกตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 5 ปี
หรือปรับไม่เกิน 5,000 ถึง 500,000 บาท
หรือทั้งจำทั้งปรับแล้วแต่มาตรการที่ฝ่าฝืน
กองทุนสิ่งแวดล้อม
ให้กรมบัญชีกลางเป็นผู้รับผิดชอบบริหาร
เพื่อกำหนดเงื่อนไขในการให้รัฐและเอกชนกู้ยืม
จัดตั้งกองทุนสิ่งแวดล้อมขึ้นในกระทรวงการคลัง
เป็นเงินช่วยเหลือในกิจการที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลัอม
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
กำหนดให้มีการตั้งคณะกรรมการประกอบด้วยรัฐมนตรี 10 ท่าน
มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานและเจ้าหน้าที่ทั้งรัฐและเอกชน
เพื่อทำหน้าที่กำกับดูแลการวางแผนสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535
การควบคุมวัตถุอันตราย
ต้องได้รับอนุญาตก่อน
ต้องปฎิบัติตามเกณฑ์และวิธีที่กำหนด
ต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อน
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปในสถานที่เพื่อตรวจสอบ
หน้าที่และความรับผิดชอบทางแพ่ง
กำหนดให้ผู้มีไว้ครอบครองใช้ความระมัดระวังและรับผิดชอบต่อการเสียหายอันเกิดแก่วัตถุอันตราย
โดยมีสิทธิไล่เบี้ยเอากับผู้ที่ส่งมอบวัตถุอันตรายภายใน 3 ปี
คณะกรรมการวัตถุอันตราย
ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นประธาน
มีอำนาจในการพิจารณาร้องเรียนและให้คำปรึกษา
บทกำหนดโทษ
ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 10,000 ถึง 1,000,000 บาท
ฟรือจำคุกตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 10 ปี หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
การกำกับและดูแลโรงงาน
เก็บตัวอย่างหรืออายัดผลิตภัณฑ์และเอกสารที่เกี่ยวข้องในกรณีมีเหตุสงสัยว่าอาจเกิดอันตรายแก่บุคคล
ปิดโรงงานหรือเข้าไปดำเนินการแก้ไขผู้ประกอบการต้องเสียค่าใช้จ่ายเอง
กำหนดให้เจ้าพนักงานเข้าไปตรวจสอบภายในโรงงาน
รวมทั้งค่าปรับร้อยละ 30 ต่อปี
บทกำหนดโทษ
ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 5,000 ถึง 200,000บาท
หรือจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 2 ปี
หรือทั้งจำทั้งปรับ
การประกอบกิจการโรงงาน
การขยายโรงงาน
หามให้โรงงานประเภทที่ 3 ขยายโรงงานเว้นแต่ได้รับอนุญาต
การเพิ่มเครื่องจักรการเพิ่มหรือแก้ไขส่วนใดส่วนหนึ่งอาคาร
กำหนดเขตประกอบอุตสาหกรรม
กิจการโรงงานประเภท2หรือ3 จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องแจ้ง
กำหนดมาตรฐาน
ควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษหรือสิ่งใด ๆ
การจัดเอกสารประจำโรงงานและข้อมูลที่ต้องแจ้ง
ประเภทของโรงงาน
โรงงานประเภทที่ 2
เมื่อจะประกอบกิจการโรงงานต้องแจ้งให้ผู้อนุญาต
ใช้เครื่องจักรไม่เกิน 50 แรงม้าหรือคนงานไม่เกิน 50 คน
ส่วนใหญ่ได้แก่โรงงานขนาดกลาง
โรงงานประเภทที่ 3
ส่วนใหญ่ได้แก่โรงงานขนาดใหญ่
มีเครื่องจักรเกิน 50 แรงม้า หรือคนงานเกิน 50 คน
ต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงจะดำเนินการได้ (ใบอนุญาติอายุ 5 ปี)
โรงงานประเภทที่ 1
สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ทันที
ส่วนใหญ่ได้แก่โรงงานขนาดเล็ก
ใช้เครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้าหรือคนงานไม่เกิน 20 คน