Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย, นางสาว…
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
แนวคิด
Anglo-American Model (AAM)
เคลื่อนย้ายใช้ Ambulance เป็นหลัก
องค์การที่เกี่ยวข้องการบริการความปลอดภัยสาธารณะ
แพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรความปลอดภัยสาธารณะ
ค่าใช้จ่ายสูงกว่าFGM
ส่งตรงห้องฉุกเฉิน
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแลโดยมีแพทย์กำกับ
ส่วนใหญ่นำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
ตย.ประเทศอเมริกา แคนาดา นิวซีแลนด์ ออวเตรเลีย
ประคับประคองอาการในสถานที่เกิดเหตุสั้นและนำผู้ป่วยไปรพ.เร็วที่สุด
Franco-German Model (FGM)
เคลื่อนย้าย Ambulance, Helicopter และ Coastal ambulance
ภายใต้บริการของระบบสุขภาพ
แพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งขององค์การสาธารณสุข
ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าAAM
ส่งผู้ป่วยหน่วยเฉพาะทาง
ส่วนใหญ่รักษา ณ จุดเกิดเหตุ
แพทย์ดูแลโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย
ตย.ประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศล กรีซ มอลต้า ออสเตเรีย
ใช้เวลานานในการดูแลอาการในสถานที่เกิดเหตุและรักษาในที่เกิดเหตุ
หลักการพยาบาล
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผุ้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาล พ.ศ.2552
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ในระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่างๆของอวัยวะสำคัญของร่างกายให้คงไว้
ค้นหาสาเหตุและปัญหาที่ทำให้เกิดภาวะฉุกเฉิน/อุบัติเหตุแล้วดำเนินการแก้ไข
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่กำลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การตอบโต้เหตุการฉุกเฉิน (Response)
ยึดตามหลัก CSCATT
C - command
S -safety A B C
C -communication
A -assessment
T -triage
T -treatment
T -transportation
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การรองรับเหตุการฉุกเฉิน เตรียมคนให้พร้อม มีแผนโต้ตอบ ฝึกอบรมความรู้และทักษะรวมถึงซ้อมแผนและการเตรียมความพร้อมของทรัพยากรที่จำเป็น
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
ต้องดำเนินไปเรื่อยๆ จนกว่าทุกอย่างจะกลับสู่ภาวะปกติ/ใกล้เคียงกับปกติมากที่สุด
การบรรเทาภัย (Mitigation)
กิจกรรมต่างๆที่ดำเนินเพื่อลด/กำจัดโอกาสในการเกิดหรือลดผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การส่งต่อรักษา
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
หลักในการพยาบาล
การรักษาภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล
การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
คัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยำ
ดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
ซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสำคัญอย่างละเอียดในเวลาที่รวดเร็ว
มีการนัดหมายผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาล
มีหลักการในการอุ้มยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
มีการส่งต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก
เพื่อช่วยชีวิต
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
Disaster paradigm
S -Safety and Security
ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A -Assess Hazards
ประเมินสถานที่เกิดเหตุ
I -Incident command
ระบบการับบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวม
S -support
การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
D -Detection
ประเมินสถานการณ์ว่าเกินกำลังหรือไม่
T -Triage/Treatment
คัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจำเป็นของผู้ป่วย
ตามหลักการของ MASS Triage Model
ตาม ID-me
E- Evacuation
1 more item...
R- Recovery
1 more item...
แนวทางปฏิบัติในระบบทางด่วน (Fast track) สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
หลักการ ดังนี้
จัดทำรายการตรวจสอบ สำหรับลงข้อมูล
ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถดำเนินการตามระบบทางด่วน
จัดทำแนวปฏิบัติ ลำดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ำเวลาเป็นสำคัญ
จัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย พร้อมกำหนดลักษณะผู้ป่วยมีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
กำหนด clinical indicator เพื่อติดตามและประเมินผลในแต่ละขั้นตอนของระบบทางด่วน
การจัดทำควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ ประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าในส่วนต่างที่เกี่ยวข้อง
บทบาทพยาบาลกับ fast track
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
ให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
Trauma life support
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
คำนึงถึงความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อมเป็นอันดับแรก
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
Resuscitation
การช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตที่อาจเสียชีวิต
ประเมิน ABC
Breathing
ผู้ป่วยทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ ผ่านหน้ากาาก flow rate 11 L/min
Circulation
ห้ามเลือดโดยทำร่วมกับการให้สารน้ำทดแทน
Air way
หลังประเมินการทำDefinitive airway สามารถรักษาโดยใส่ท่อช่วยหายใจได้ แต่ควรเริ่มต้นหลังหายใจด้วยออกซิเจน
Secondary survey
ตรวจร่างกายอย่างลละเอียดหลังจกพ้นภาวะวิกฤตแล้ว
ซักประวัติ ตรวจHead to toe ตรวจรังสีรักษา เป็นต้น
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary survey)
Circulation with hemorrhagic control
ประเมินในระบบไหลเวียนเลือดเพื่อค้นหาภาวะShock
สีผิว
อุณหภูมิ
ระดับความรู้สึกตัว
ปริมาณเลือดที่ออกจากบาดแผล
สัญญาณชีพ
ประเมินจากอาการ
ระบบหายใจ: หายใจเร็ว ไม่สม่ำเสมอ
ระบบทางเดินปัสสาวะ: ปัสสาวะลดลง
หัวใจและหลอดเลือด :systolic BP น้อยกว่า 90 mmHg/ 50 mmHg Pulse เบาเร็ว
ระบบทางเดินอาหาร: กระหายน้ำ น้ำลายลดลง ท้องอืด อาเจียน
ผิวหนัง :เย็น ชื้น เหงื่อออกมาก cyanosis
ภาวะกรดด่างของร่างกาย: เกิดภาวะacidosis metabolic
ระบบประสาท :ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ซึม สับสน หมดสติ
Disability (Neurologic status)
ประเมิน
Revision trauma scale= GCS+ Respiratory score+ Systolic BP score
ถ้าน้อยกว่า 11 ให้นำส่ง trauma center
AVPU Scale
Voice
Painful stimuli
Alert
Unresponsive
ตรวจประเมินรูม่านตา
Breathing and ventilation
ประเมิน
ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
คลำ การเคาะเพื่อตรวจหารการบาดเจ็บ
การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
Exposure/ environmental control
ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆ
จำเป็นต้องพลิกตะแคงตัวผู้บาดเจ็บแบบท่อนซุง
ประเมินการได้รับบาดเจ็บของประสาทสันหลัง
Airway maintenance with cervical spine protection
Jaw-thrust maneuver: ใช้ในกรณีสงสัยมีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอ
Modified jaw-thrust maneuver: ใช้ในกรณีสงสัยมีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอ
Head-tilt Chin-lift: วิธีง่ายสุดควรทำเป็นอันดับแรก
Triple airway maneuver
กรณีไม่มีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอ
Head-tilt, jaw-thrust, open mouth
กรณีสงสัยมีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอ
jaw-thrust, open mouth, ยกเว้นกรณีฉุกเฉินที่ผู้ป่วยกำลังมีอันตรายแก่ชีวิตให้ปฏิบัติตามลำดับHead-tilt, jaw-thrust, open mouth
Definitive care
รักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว
นางสาว ณัฐนรี คำใหญ่ 6201210361 เลขที่ 20 Sec A