Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
แต่ละสถานพยาบาล/สถาบันสามารถดำเนินการจัดทำหรือจัดการแตกต่างกัน โดยอาศัยหลักการ
การจัดทำควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ
จัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย
จัดทำแนวปฏิบัติ ลำดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
จัดทำรายการตรวจสอบ
ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ำเวลาเป็นสำคัญ
กำหนด clinical indicator
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
EMS (accessibility)
Triage/ Specific triage/ Assessment
Activate system
Flow (purpose-process-performance)
Investigation
Care delivery
Monitoring: early warning signs & E-response
Risk management (general & clinical)
Co-ordination, Communication, Handover
Inter & Intra transportation
Evaluation, output, outcome
Improvement, Innovation, Integration
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การดูแลในระยะกNอนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (Rehabilitation & transfer)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น ประกอบด้วย
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
Resuscitation
Secondary survey
Definitive care
Primary survey
Airway maintenance with cervical spine protection
การเปิดทางเดินหายใจแบบ Head-tilt Chin-lift maneuve
การเปิดทางเดินหายใจแบบ jaw-thrust maneuve
การเปิดทางเดินหายใจแบบ modified jaw-thrust maneuver
การเปิดทางเดินหายใจแบบ Triple airway maneuver
Breathing and Ventilation
Circulation and Hemorrhage control
Disability: Neurologic Status
การกู้ชีพ (Resuscitation)
Airway ภายหลังจากการประเมิน การทำ Definitive airway
Breathing ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ
Circulation การห้ามเลือดเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บโดยทำร่วมกับการให้สารน้ำทดแทน
การประเมินสภาพร่างกายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด (Secondary Survey)
Historyประวัติและ Mechanism of Injury
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Past illness/ Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Event/ Environment related to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร
Blunt trauma ส;วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุจราจร พลัดตกจากที่สูง
Penetrating trauma เกิดจากอาวุธปืน มีด
Physical Examinationในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
Head ในการตรวจหนังศีรษะ
Facial ควรคลำกระดูกใบหน้าให้ทั่ว
Cervical spine and Neck ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวทุกราย
Chest การตรวจจะเริ่มจากการมองหารอยช้ำ
Abdomen ในผู้ป่วยที่บาดเจ็บและเกิดภาวะ Shock
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment
Pelvic fracture
Neurological system
Re-evaluation
การรักษาผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บภายหลังได้รับการช่วยเหลือขั้นต้นแล้ว (Definitive Care)
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทำ secondary survey เรียบร้อยแล้ว เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง