Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การฟังให้สัมฤทธิ์ผล - Coggle Diagram
การฟังให้สัมฤทธิ์ผล
หลักการฟังสารโน้มน้าวใจ
-
๒) สารที่นำมาเสนอนั้น สนองความต้องการพื้นฐานของผู้ฟังและดุอย่างไรทำให้เกิดความปรารถนาหรือความว้าวุ่นขึ้นในใจมากน้อยเพียงใด
๓) สารได้เสนอแนวทางที่สนองความต้องการของผู้ฟังและดูหรือมีสิ่งใดแสดงความเห็นว่าหากผู้ฟังและดูยอมรับข้อเสนอนั้นแล้วจะได้รับประโยชน์อะไร
-
-
-
โอกาสของการฟัง
- การฟังระหว่างบุคคล เป็นการฟังที่ไม่เป็นทางการ เช่นฟังการสนทนา การสอบถาม คำแนะนำ
- การฟังในกลุ่มขนาดเล็ก เป็นการฟังกึ่งทางการเช่นการปรึกษาหารือร่วมกัน วางแนวทางปฏิบัติร่วมกัน
- การฟังในที่ประชุม เป็นการฟังที่เป็นทางการ ผู้ฟังต้องรักษากิริยามารยาท เช่น ฟังการบรรยาย สาธิต
- การฟังจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการฟังที่ไม่เป็นทางการ
มารยาทในการฟัง
- การฟังเฉพาะหน้าผู้ใหญ่ ผู้ฟังพึงสำรวมกิริยาอาการ สบตากับผู้พูดเป็นระยะ ๆ ให้พอเหมาะ แต่ไม่ถึงกับจ้องหน้า ไม่ชิงพูดก่อนที่คู่สนทนาจะพูดจบความ ถ้าฟังไม่เข้าใจควรถามเมือผู้พูดพูดจบกระแสความ
- การฟังในที่ประชุม ในที่ประชุมขณะที่ประธานหรือผู้ร่วมประชุมคนอื่นพูด
เราจำเป็นต้องตั้งใจฟัง อาจจดข้อความสำคัญไว้ ไม่ควรพูดกระซิบกับคนอื่นที่อยู่ข้างเคียง ไม่ควรพูดแซงขึ้นต้องฟังจนจบแล้วจึงขออนุญาตพูด
- การฟังในที่สาธารณะ ข้อควรระวังสำหรับการฟังในที่สาธารณะควรทำตามกฎของที่นั้นๆ
ความหมาย
ฟังให้ได้รับความสำเร็จ การฟังให้สัมฤทธิ์ผลจะมีระดับสูงหรือต่ำ มากน้อย ขึ้นอยู่กับปัจจัยสำคัญคือ โอกาสของการฟัง และระดับขั้นของการฟัง ดังนั้นขั้นแรกผู้ฟังจึงควรวิเคราะห์โอกาสที่ฟัง
ความหมายของการฟัง
การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน เป็นกระบวนการทำงานของสมอง ส่วนการได้ยินเป็นจุดเริ่มต้นของการฟัง เป็นเพียงการกระทบกันของเสียงกับประสาทหูตามปกติ