Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535
พระราชบัญญัตินี้ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติเก่าที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ.2510 และ พ.ศ.2516 ทั้งยังให้ ความหมายของคำว่า "วัตถุอันตราย" หมายความว่าวัตถุ
วัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
วัตถุกัดกร่อน
วัตถุกัมมันตรังสี
วัตถุที่ทำให้เกิดการระคายเคือง
วัตถุที่ทำให้เกิดโรค
วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าเป้นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด
วัตถุมีพิษ
วัตถุออกซิไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซด์
วัตถุไวไฟ
วัตถุระเบิดได้
กฎหมายฉบับนี้ครอบคลุมถึง การผลิต นำเข้า ส่งออก ขาย มีไว้ในคุ้มครอง วัตถุอันตราย โดยให้รัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นผู้รับผิดชอบ กฎหมายแบ่งออกเป็น 4 หมวด
การควบคุมวัตถุอันตราย ให้จัดตั้งศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายขึ้นในกระทรวงอุตสาหกรรม
หน้าที่และความรับผิดทางแพ่ง กำหนดให้ผู้ผลิต นำเข้า ผู้ขนส่ง ผู้มีไว้ในครอบครองใช้ความระมัดระวังในการตรวจสอบรับผิดชอบต่อการเสียหายอันเกิดแก่วัตถุอันตราย
คณะกรรมการวัตถุอันตราย ให้ประกอบด้วยปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นประธานมีอำนาจในการพิจารณาร้องเรียน และให้คำปรึกษาแก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
บทกำหนดโทษ ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 10,000 ถึง 1,000,000 บาท หรือจำคุก ตั้งแต่ 1 เดือน 10 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติฉบับนี้ แบ่งโรงงานเป็น 3 ประเภทใหญ่ เพื่อสะดวกในการควบคุมและกำกับดูแลให้รัฐมนตรี กระทรวงอุตสาหกรรมรักษาการตาม พระราชบัญญัติ นี้ " โรงงาน " ตาม พระราชบัญญัตินี้ หมายความว่า "อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักร มีกำลังรวมตั้งแต่ห้าแรงม้าหรือกำลังเทียบเท่าตั้งแต่ห้าแรงม้าขึ้นไป โครงสร้างของกฎหมายแบ่งเป็น 3 หมวด
การประกอบกิจกรรมการโรงงาน
ก ประเภทของโรงงาน ได้แบ่งประเภทของโรงงานออกมาเป็น 3 ประเภท ได้แก่
โรงงานประเภทที่ 1 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ทันที ตามความประสงค์ของผู้ประกอบกิจการโรงงาน
โรงงานประเภทที่ 2 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่เมื่อจะประกอบกิจการโรงงานต้องแจ้งให้ผู้อนุญาต (กรมโรงงานอุตสาหกรรม) ทราบก่อน
โรงงานประเภทที่ 3 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การตั้งโรงงาน จะต้องได้รับในอนุญาติก่อน จึงดำเนินการได้ (ใบอนุญาตมีอายุ 5 ปี)
ข กำหนดมาตรฐาน และวิธีการควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษ หรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ค การขยายโรงงาน ห้ามมิให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (โรงงานประเภทที่ 3) ขยายโรงงานเว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต การขยายโรงงาน
ง ประกาศให้ท้องที่ใดเป็นเขต ประกอบการอุตสาหกรรมหรือจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมการกำหนดเขตประกอบอุตสาหกรรม
การกำกับและดูแลโรงงาน
กำหนดให้เจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่มีหน้าที่เข้าไปตรวจสอบสภาพภายในโรงงาน เก็บตัวอย่างยึดหรืออายัดผลิตภัณฑ์ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทกำหนดโทษ
ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 5,000 ถึง 200,000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 2 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ โทษหนักที่สุด
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติฉบับนี้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2535 โดยยกเลิกฉบับเก่าซึ่งมีใช้มาตั้งแต่ พ.ศ.2522 โครงสร้างของกฎหมายแบ่งเป็น 7 หมวด
กองทุนสิ่งแวดล้อม
จัดตั้งกองทุนสิ่งแวดล้อมขึ้นในกระทรวงการคลัง โดยให้กรมบัญชีกลางเป็นผู้รับผิดชอบบริหารกองทุนตามคำแนะนำของคณะกรรมการกองทุนที่จัดตั้งขึ้นใหม่
การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
การกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม การวางแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม การประกาศเขตอนุรักษ์และพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม
การควบคุมมลพิษ
ให้จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมมลพิษ โดยมีปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเป็นประธาน เพื่อเสนอแผนปฏิบัติการป้องกันหรือแก้ไขอันตรายจากมลพิษ
มาตรการส่งเสริม
ต่อเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษทางด้านอากรขาเข้าของเครื่องจักรอุปกรณ์ การขอนำผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศเข้ามาปฏิบัติหน้าที่
ความรับผิดทางแพ่ง
กำหนดให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำหนดมลพิษ มีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ให้ค่าเสียหายที่ตนเองก่อขึ้น
บทกำหนดโทษ
ผู้ที่ฝ่าฝืนไม่ปฏิบ้ติตามกฏหมาย อาจถูกจำคุกตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 5,000 ถึง 500,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ แล้วแต่มาตรการที่ฝ่าฝืน
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
กำหนดให้มีการตั้งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติขึ้นประกอบด้วยรัฐมนตรี 10 ท่าน มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานและมีเจ้าหน้าที่ทรงคุณวุฒิทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนหนึ่ง
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติฉบับนี้ยกเลิก พระราชบัญญัติการสาธารณสุขฉบับที่มีใช้มาแต่ พ.ศ.2527 และพระราชบัญญัติควบคุมการใช้อุจจาระและปุ๋ยที่มีใช้มาแต่ พ.ศ.2497 โดยให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้และให้เจ้าพนักงานสาธารณสุขในการกำกับดูแลการทำงานของเจ้าพนักงานท้องถิ่นในการจัดการปฏิบัติตามกฎหมาย
บททั่วไป
ให้รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขมีอำนาจจากการออกกฎกระทรวงกำหนด หลักเกณฑ์มาตรฐานสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพของประชาชน
บทกำหนดโทษ
ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 500 ถึง 10,000 บาท หรือถูกจำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 6 เดือน หรือทั้งจำทั้งปรับ
คณะกรรมการสาธารณสุข
ให้ตั้งคณะกรรมการสาธารณสุข โดยมีปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการและกรรมการอีก 17 คน ประกอบด้วยอธิบดีกรมอนามัยและกรมอื่น ๆ
การอุทธรณื
มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขภายใน 3 วัน
กำจัดสิ่งปฏิกุลและขยะมูลฝอย
ให้เป็นอำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นนั้น ในการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น
อัตราธรรมเนียมค่าปรับ
ในกรณีขอต่อใบอนุญาตล่าช้าอาจถูกปรับ 20 เปอร์เซ็นต์
สุขลักษณะของอาคาร
เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้แก้ไข อาคารที่มีสภาพชำรุดทรุดโทรมหรือมีสภาพรุงรังไม่ถูกสุขลักาณะ
ใบอนุญาต
เพื่อขออนุญาตก่อนประกอบกิจการตามที่กฎหมายกำหนดซึ่งมีอายุ 1 ปี
เหตุรำคาญ
เหตุอันก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อาศัยในบริเวณใกล้เคียงหรือผู้ที่ต้องประสบกับเหตุนั้น
หนังสือรับรองการแจ้ง
เพื่อให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นทราบต้องแสดงหนังสือไว้ในที่เปิดเผย
การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์
ราชการท้องถิ่นอาจกำหนดให้เป็นเขตห้ามเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์
อำนาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
รัฐมนตรีสาธารณสุขมีอำนาจกำหนดให้กิจการใดเป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพจะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นก่อนดำเนินการในลักษณะที่เป็นการค้า
การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธาณะ
ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
ตลาด
ร้านขายอาหาร และสถานที่สะสมอาหาร ต้องได้รับใบอนุญาตหรือแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นก่อน
บทเฉพาะกาล