Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต -…
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
แบ่งเป็น 5 ระยะ ตามทฤษฎีของ Elisabeth Kubler Ross (1969)
Anger
ความโกรธเป็นภาวะธรรมชาติ และเป็นการเยียวยาความรู้สึกที่เกิดจากสูญเสีย
Bargaining
การต่อรองมักจะแฝงด้วยความรู้สึกผิดไว้ด้วย
“อยากเห็นลูกเรียนจบก่อน”
“ฉันรู้ว่ามัน ร้ายแรง คงรักษาไม่หาย แต่ฉันอยาก...”
Denial
รู้สึกตกใจ ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้ ไม่เชื่อ ไม่ยอมรับความจริง
“ไม่จริงใช่ไหม”
“คุณหมอแน่ใจรึเปล่าว่าผลการตรวจถูกต้อง”
Depression
เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ความรู้สึกซึมเศร้าจะเริ่มเกิดขึ้น
เบื่อหน่าย เก็บตัว ไม่ค่อยพูดคุย ถามคําตอบคํา
ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม หรืออาจร้องไห้
Acceptance
เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง อารมณ์เจ็บปวดหรือซึมเศร้าดีขึ้น
ปรับตัว และเรียนรู้เพื่อให้ดําเนิน ชีวิตต่อไปได้
บทบาทพยาบาล
ช่วยเหลือประคับประคองจิตใจให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news)
ข่าวร้าย
ข้อมูลที่ทําให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง มีผลกระทบต่อความรู้สึก การดําเนินชีวิต และอนาคตของบุคคลนั้น
ผู้แจ้งข่าวร้าย
เนื่องจากมีผลกระทบต่อผู้ป่วยและญาติ
ผู้ที่แจ้งข่าวร้าย ต้องได้รับการฝึกฝนและมีประสบการณ์วิธีการแจ้งข่าวร้าย มีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับแผนการรักษา
ดังนั้นการแจ้งข่าวร้ายแก่ผู้ป่วยหรือญาติ
จึงเป็นหน้าที่สําคัญของแพทย์