Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง, น.ส. พัทธ์ธีรา ศักดิ์ลอ ชพบ62.2…
บทที่7
กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
กำกับ ดูแล ส่งเสริม และสนับสนุน ให้ผู้ที่อยู่ใต้บังคับของกฎหมาย มีการอนุรักษ์พลังงานด้วยการผลิต และการใช้พลังงานอย่างประหยัด
ส่งเสริมและสนับสนุน ให้เกิดการผลิตเครื่องจักร อุปกรณ์ ที่มีประสิทธิภาพและวัสดุที่ใช้ในการอนุรักษ์พลังงานขึ้นภายในประเทศ
ส่งเสริมและสนับสนุน ให้การอนุรักษ์เป็นรูปธรรม ด้วยการจัดตั้ง "กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
โรงงานประเภทที่ 1 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ทันที ส่วนใหญ่ได้แก่โรงงานขนาดเล็กใช้เครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า หรือคนงานไม่เกิน 20 คน
โรงงานประเภทที่ 2 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่เมื่อจะประกอบกิจการโรงงาน จะต้องได้รับใบอนุญาต (กรมโรงงานอุตสาหกรรรม) ทราบก่อน ส่วนใหญ่ได้แก่โรงงานขนาดกลางมีเครื่องจักรไม่เกิน 50 แรงม้า หรือคนงานไม่เกิน 50 คน
โรงงานประเภทที่ 3 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การตั้งโรงงาน จะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงจะดำเนินได้ (ใบอนุญาตมีอายุ 5 ปี) ส่วนใหญ่เป็นโรงงานใหญ่ที่มีเครื่องจักรเกิน 50 แรงม้า หรือคนงานเกิน 50 คน หรือโรงงานที่ก่อให้เกิดมลพิษกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
ให้รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขมีอำนาจการออกกฏกำหนดหลักเกณฑ์มาตราฐานสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของประชาชน
ให้คณะกรรมการสาธารณสุข โดยมีปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานและกรรมการอีก 17 คน
กำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย ให้เป็นอำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นนั้น ในการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น
อำนาจของเจ้าพนักงงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข ให้สามารถเข้าตวจสอบยึดหรืออายัดสิ่งของที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย
ใบอนุญาต เพื่อขออนุญาตก่อนประกอบกิจการตามที่กฎหมายกำหนดซึ่งมีอายุ 1 ปี
หนังสือรับรองการแจ้ง เพื่อให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นทราบต้องแสดงหนังสือไว้ในที่เปิดเผย
อัตราธรรมเนียมค่าปรับ ในกรณีต่อใบอนุญาตล่าช้าอาจถูกปรับ 20 เปอร์เซ็นต์
การอุทธรณ์ มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขภายใน 3 วัน
บทกำหนดโทษ ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 500 ถึง 10,000บาท หรือถูกจำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 6 เดือน หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัตินี้ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติเก่าที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2510 และ พ.ศ. 2516 ทั้งยังให้ความหมายของคำว่า“ วัตถุอันตราย” หมายความว่าวัตถุดังต่อไปนี้
วัตถุที่ทำให้เกิดโรค
วัตถุกรัมมันตรังสี
วัตถุมีพิษ
วัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
วัตถุออกซิไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซด์
วัตถุกัดกร่อน
วัตถุไวไฟ
วัตถุที่ทำให้เกิดการระคายเคือง
วัตถุระเบิดได้
ในการปฏิบัติหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าไปในสถานที่เพื่อตรวจสอบเก็บตัวอย่างตรวจค้นกับยึดหรือายัดและมีอำนาจเรียกบุคคลมาให้ถ้อยคำได้วัตถุอันตรายที่ถูกอายัดอาจถูกทำลายหรือจัดการดำเนินการขายทอดตลาดภายใน 3 เดือนโดยคืนเงินให้เจ้าของหลังหักค่าใช้จ่ายแล้วตามควรแก่กรณี
หน้าที่และความรับผิดทางแพงกำหนดให้ผู้ผลิตนำเข้าผู้ขนส่งผู้มีไว้ในครอบครองใช้ความระมัดระวังในการตรวจสอบรับผิดชอบต่อการเสียหายอันเกิดแก่วัตถุอันตรายโดยมีสิทธิไล่เบี้ยเอากับผู้ที่ส่งมอบวัตถุอันตรายให้ตนจนถึงผู้ผลิตภายใน 3 ปีนับ แต่วันที่ตนได้รับค่าสินไหมทดแทนในกรณีที่วัตถุอันตรายกอให้เกิดความเสียหายแก่ส่วนรวมหรือทรัพยากรธรรมชาติพนักงานอัยการมีอำนาจฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายของรัฐได้
บทกำหนดโทษผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 10,000 ถึง 1,000,000 บาทหรือจำคุกตั้งแต่ 1 เดือนถึง 10 ปีหรือทั้งจำทั้งปรับ
น.ส. พัทธ์ธีรา ศักดิ์ลอ ชพบ62.2 เลขที่22