Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
การป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
สาเหตุของวิกฤตการณ์พลังงาน
1.1 ประชากรของโลกเพิ่มมากขึ้น
แหล่งพลังงานมีไม่เพียงพอพลังงานจึงมีราคาแพงขึ้น ปริมาณการใช้พลังงานที่เพิ่มมากขึ้นจากประชากรโลกทําให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นด้วย
1.2 ขาดการวางแผนและจัดการ
ทําให้การใช้พลังงานไร้ประสิทธภิาพ ไมคุ้มค่า และขาดแผนแก้ไขผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อมจากการใช้พลังงาน
1.3 การใช้เทคโนโลยีมากและไม่เหมาะสม
ทําให้สิ้นเปลืองพลังงานโดยเฉพาะเทคโนโลยีโดยไม่คํานึง ถึงการอนุรักษ์ พลังงาน
1.4 ขาดการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ทําให้ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทั้งหลายร่วมกัน
แนวทางการแก้ไขวิกฤตการณ์พลังงาน
2.1มาตรการทางเศรษฐกิจ
ส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธภิาพส่วนการผลิตและการบริโภคต้องรับผิดชอบต่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมมากขึ้นด้วย
2.2มาตรการทางกฎหมาย
มีกฎหมายส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานกฎหมายดา้นภาษีอากรเพื่อจูงใจให้เกิด
การอนุรักษ์พลังงาน
2.3 มาตรการการศึกษา
มีการปรับปรุงพัฒนาหลักสตู รการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม นํามาตรฐาน ISO14000 มาใช้กับโรงเรียน มีกิจกรรมออกค่ายอนุรักษ์พลังงาน กิจกรรมการปลูกป่า
2.4 มาตรการรณรงค์ประชาสัมพันธ์
มีการเผยแพร่ความรู้/ข้อมูลทางสื่อมวลชนต่างๆอย่างต่อเนื่องเพื่อเชิญชวนให้ประชาชนร่วมมือกันประหยัดน้ํา ไฟฟ้า การใช้รถยนต์ร่วม
2.5 มาตรการทางเทคโนโลยี
ส่งเสริม การคิดค้นพลังงานทดแทน แหล่งพลังงานรูปแบบใหม่ และอุปกรณ์ประหยัดพลังงานต่างๆ
การอนุรักษ์พลังงานของประเทศไทย
3.1 แนวคิดในการอนุรักษ์พลังงาน
กรอบแผนบรูณา การพลังงานแห่งชาติ ที่ให้ความสำคัญใน 3 ด้าน
(1) ด้านความมั่นคงทางพลังงาน (Security) ในการตอบสนอง ต่อปริมาณความต้องการพลังงานที่สอดคล้อง กับอัตราการเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจ อัตราการเพิ่มของประชากร และอัตรา การขยายตัวของเขตเมือง
(2)ด้านเศรษฐกิจ(Economy)ที่ต้องคํานึงถึงต้นทุนพลังงานที่มีความเหมาะสมและไมเ่ป็นอุปสรรค ต่อ การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะยาว การปฏิรูปโครงสร้างราคาเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ให้สอดคล้อง กับต้นทุน และให้มภีาระภาษีที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธภิาพการใช้พลังงานของประเทศ
(3) ด้านสิ่งแวดล้อม (Ecology) ต้องลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดยการสนับสนุนการผลติไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนและการเพิ่มประสิทธภิาพในระบบไฟฟ้า(Efficiency)ทั้งด้านการผลิต ไฟฟ้าและด้านการใช้ไฟฟ้าโดยพฒันาระบบโครงข่ายไฟฟ้าสมาร์ทกริด(Smartgrid)
3.2. นโยบายที่เกี่ยวข้อง
นโยบายที่เกี่ยวข้องระหว่างประเทศ
กลุ่มความร่วมมอืทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (APEC)
การประชุมผู้นํากลุ่มความร่วมมือทาง เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก(APEC)ระหว่างวันที่12-13กันยายนพ.ศ.2554ที่ฮอนโนลูลูประเทศสหรฐัอเมริกาผู้นาAPECทงั้ 21เขตเศรษฐกิจรวมถึงประเทศไทยได้ประกาศปฏญิญาในเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศความมั่นคงทางพลังงาน และการ พัฒนาพลังงานสะอาด
การลดก๊าซเรือนกระจก
นอกจากนั้นประเทศไทยไดเ้ข้าร่วมเป็นภาคีกรอบอนสุัญญาสหประชาชาติว่า ด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ หรือ United Nations Framework Convention on Climate Change และพิธีสาร เกียวโต (The Kyoto Protocol: KP) เมื่อปี พ.ศ. 2537 และ ปี พ.ศ. 2545 ตามล าดับ จากมติคณะรัฐมตรี เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เห็นชอบให้ประเทศไทยแสดงเจตจํานงการดําเนินงานลดก๊าซเรือนกระจก ที่เหมาะสมของประเทศ
นโยบายที่เกี่ยวข้องในประเทศ
เป้าหมายการลดการใช้พลังงานที่ผ่านมากระทรวงพลังงานเริ่มใช้ดัชนีความเข้มการใช้พลังงาน
พลังงานที่ใช้พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบต่อหน่วยผลิตภณัฑม์วลรวมภายในประเทศ(Grossdomesticproduct;GDP;billion baht) เป็นแนวทาง กำหนดนโยบายและจัดทำแผนอนุรักษ์พลังงานในระยะยาวของประเทศไทย)
ยุทธศาสตร์ชาติ20ปีเมื่อวันที่8ตุลาคมพ.ศ.2561
มีประกาศให้ใช้ยุทธศาสตร์ชาติ20ปีระยะเวลา ครอบคลมุปีพ.ศ.2561–2580ซึ่งการกําาหนดแผนหรือนโยบายต่างๆจะต้องสอดคล้องทั้งเนื้อหาและระยะเวลาโดยการ บริหารจดัการการใช้ทรัพยากรพลงังานที่มีประสิทธิภาพการวิจัยพฒันาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการพัฒนาระบบขนส่งเพื่อ ลดต้นทุนทางเศรษฐกิจและสังคมนําเทคโนโลยีการจัดการและอนรุกัษ์พลังงานกฎระเบยีบรวมถึงการสรา้งความรู้ความเข้าใจ ให้กับประชาชน
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561-2580 (PDP2018)
เมื่อวันที่ 29 มกราคมพ.ศ.2562มีมติให้ปรับปรุงแผน4แผนไดแ้ก่(1)แผนอนุรักษ์พลังงาน(2)แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก (3) แผนบริหารจดั การกา๊ ซธรรมชาติและ (4) แผนบริหารจัดการน้ ามันเชื้อเพลิง ให้สอดคลอ้ งตามแผน PDP2018
เป้าหมายการลดการใช้พลังงานปัจจุบัน
กระทรวงพลังงานได้ทบทวนค่าพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงาน ขั้นสุดท้ายในอนาคตซึ่งเป็นการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์เช่นน้ามันสําเรจ็รูปไฟฟ้าเป็นต้นและพลังงานทดแทนเช่นไม้ฟืนแกลบ พลังน้ า เป็นต้น
3.3. กรอบแนวคิดการจัดทําแผน
สมมติฐานที่ใช้ในการจัดทําแผนอนุรักษ์พลังงานได้บูรณาการกับอีก 4 แผนหลักของกระทรวงพลังงาน
(1) แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย
(2) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก(
(3)แผนบริหารจดัการก๊าซธรรมชาติ
(4)แผนบรหิารจัดการน้ามันเชื้อเพลิงโดยสมมติฐานการคาดการณ
ความต้องการพลังงานในอนาคต ประกอบด้วย
(1) กรอบระยะเวลาของแผนมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) โดยก าหนด
เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานของประเทศทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
(2) ปรับสมมติฐานอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) และอัตราการเพิ่ม ของประชากร และ
ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าใหส้ อดคล้องกับแผน PDP2018
(3)รักษาระดับเปา้หมายการลดEIลงร้อยละ30ภายในปีพ.ศ.2580เมื่อเทียบกับปีฐานพ.ศ.2553โดยมเีป้าหมาย
ในการลดการใช้ปริมาณพลังงานเชิงพาณิชย์ให้ได้ทั้งสิ้น49,064ktoeของปริมาณการใช้พลังงานขนั้สุดท้ายทั้งหมดเมื่อเทียบ กับปีฐาน พ.ศ. 2553
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการแก้ปัญหาด้านพลังงาน
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-11 โดย ยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สร้างสมดุลการพัฒนา” ใน ทุกมิติ และขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อให้การ พัฒนาและบริหารประเทศเป็นไปบนทาง สายกลาง เชื่อมโยงทุกมิติของการพัฒนาอย่างบูรณาการ ทั้งคน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และการเมือง โดยมีการวิเคราะห์ อย่าง “มีเหตุผล” และใช้หลัก “ความพอประมาณ” ให้เกิดความสมดุลระหว่าง มิติทางวัตถุกับจิตใจของคนในชาติ ความ สมดุลระหว่างความสามารถในการพึ่งตนเองกับการแข่งขันในเวทีโลก ความสมดุล ระหว่างสังคมชนบทกับเมือง เตรียม“ระบบ ภูมิคุ้มกัน” ด้วยการบริหารจัดการความเสี่ยงให้เพียงพอพร้อมรับผลกระทบจาก