Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535
วัตถุอันตราย หมายความว่าวัตถุ ดังต่อไปนี้
วัตถุระเบิดได้
วัตถุไวไฟ
วัตถุออกซิไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซด์
วัตถุมีพิษ
วัตถุที่ทำให้เกิดโรค
วัตถุกัมมันตรังสี
วัตถุที่ทำให้เกิดการระคายเคือง
วัตถุกัดกร่อน
กฎหมายฉบับนี้ครอบคลุมถึง การผลิต นำเข้า ส่งออก ขาย มีไว้คุ้มครอง วัตถุอันตราย โดยรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นผู้รับผิดชอบ
คณะกรรมการวัตถุอันตราย ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นประธานมีอำนาจในการพิจารณาร้องเรียนและคำปรึกษา
การควบคุมวัตถุอันตราย ให้จัดตั้งศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายขึ้นในกระทรวงอุตสาหกรรม และแบ่งวัตถุออกเป็น 4 ชนิด
วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ครอบครองต้องปฏิบัติตามเกณฑ์และวิธีที่กำหนด
วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ครอบครองต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีที่กำหนด
วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ครอบครองต้องได้รับอนุญาตก่อน
วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ครอบครอง ให้อำนาจกระทรวงที่รับผิดชอบคุณสมบัติ ภาชนะ การตรวจสอบ ฉลากการผลิต นำเข้า ส่งออก เก็บ ทำลาย
ให้มีผู้เชี่ยวชาญรับผิดชอบกำหนดขั้นตอนในการขึ้นทะเบียนเป็นวัตถุอันตราย
หน้าที่และความรับผิดทางแผ่ง ในกรณีที่วัตถุอันตรายก่อให้เกิดความเสียหายแก่ส่วนรวมพนักงานอัยการมีอำนาจฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายของรัฐได้
บทกำหนดโทษ ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 10,000 ถึง 1,000,000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 10 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ