Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมสมุนไพรสำหรับเครื่องสำอางและยา, images, pngtree-green-layered…
การเตรียมสมุนไพรสำหรับเครื่องสำอางและยา
แบบผงแห้ง
การเก็บสมุนไพรสด
อายุพืช:ถ้าไม่มีบอกให้เก็บโตเต็มที่
ระยะเวลาที่เก็บ: ตามหลักแผนโบราณ
ใช้ใบหรือทั้งต้น : โตเต็มที่แล้วเด็ดได้เลย (ยกเว้น พืชบางชนิดที่ใช้ยอดอ่อน)
ใช้ดอกเป็นยา:เก็บช่วงดอกเริ่มบาน,ถ้ามีน้ำมันหอมระเหย เก็บช่วงดึก
ใช้เปลือกหรือเปลือกราก: เก็บปลายฤดูร้อนต่อฤดูฝน ควรแกะจากกิ่ง
วิธีลอก : ควรลอกออกครึ่งลำต้น จะได้ไม่กระทบระบบลำเลียงอาหาร
ใช้แก่น : เก็บฤดูร้อน ไม่ควรโค่นลำต้น เก็บจากกิ่งเอา
ใช้รากหรือหัว : เก็บช่วงที่พืชหยุดเติบโตใบร่วงหมด (ลงหัว) ต้นหนาวปลาร้อน
การล้างสมุนไพรให้สะอาด
โดยเฉพาะส่วนที่มาจากดิน ต้องล้างให้สะอาด ผึ่งในถาดเพื่อระบายน้ำ
อบหรือตากแห้ง (50องศาเซลเซียส)
ผึ่งให้แห้ง : เหมาะกับพืชที่มีน้ำมันหอมระเหย ต้องมีลมพัดผ่านตลอดเวลา ไม่เหมาะกับภาคใต้
ตู้อบแสงอาทิตย์ประหยัดพลังงาน : รับแสงโดยตรง อาจเสียสารอาหาร
ตู้อบลมร้อนพลังงานไฟฟ้า : อุณหภูมิคงที่ แต่ราคาแพง
การบดเป็นผง ใช้เครื่องมือในการบดหลายชนิด
บดแล้วผ่านแร่ง แต่หากเครื่องบดมีตะแกรงแล้วก็ไม่ต้อง
แบบการสกัด
การต้ม : จะได้น้ำสกัด
ให้ชั่งสมุนไพรสดหรือแห้ง : ย่อยให้สมุนไพรมีขนาดเล็กแต่ไม่บดละเอียด
เติมน้ำ 3-5 เท่า ของน้ำหนัก
ถ้าสมุนไพรสดเอาให้น้ำท่วมสมุนไพรเกินขึ้นมา 5 นิ้วก็พอ
ถ้าสมุนไพรแห้งเอาไปแช่น้ำก่อน แล้วค่อยเอามาต้ม แห้งเติมน้ำ ถ้ายังไม่เข้มใช้ผ้าข้าวบาง
นำกากมาต้มซ้ำเช่นเดิม : แล้วเอาน้ำสกัดที่ได้สองครั้งมารวมกัน แล้วเคี่ยวจนได้น้ำหนักที่ต้องการ ส่วนใหญ่มักใช้สัดส่วนน้ำสกัดเท่าสมุนไพร
ข้อเสีย : เก็บไว้นานๆอาจเกิดการเน่าเสีย
แก้โดย เติมสารกันเสีย,เคี่ยวให้เข้มข้น
ปัจจัยที่ต้องควบคุมในการสกัดแบบต้ม
อัตราส่วนระหว่างน้ำและสมุนไพร
เวลาที่ใช้ต้ม
รายละเอียดอื่นๆ (น้ำก่อนต้ม,เวลาแช่สมุนไพร) จดบันทึกไว้ด้วย
การคั้นน้ำสด : ได้น้ำคั้น
ต้องใช้สมุนไพรสด บีบเอาแต่น้ำ เหมาะกับสมุนไพรที่ทนความร้อนไม่ได้
วิธีที่ 1 : น้ำคั้นผลไม้
เครื่องมือ : เครื่องคั้นน้ำผลไม้
วิธีทำ : ล้างผิวด้านนอก > ผ่าครึ่งซีก > บีบด้วยเครื่อง
น้ำส้มคั้น,น้ำคั้นผลมะเฟือง
วิธีที่ 2 : น้ำคั้นใบหรือเหง้า
เครื่องมือ : เครื่องปั่นน้ำผลไม้
วิธีทำ : ปั่นสมุนไพรสดกับน้ำจำนวนครึ่งเท่าของสมุนไพร > กรอง
ขมิ้น
ข้อเสีย : สารสกัดสมุนไพรไม่ค่อยคงตัวมักต้องใช้สารกันบูด ควรใช้ทันทีหรือแช่เย็นไว้
การควบคุมคุณภาพ
เลือกสมุนไพรที่อายุและขนาดเท่าเดิม
เครื่องมือต้องทำความสะอาดด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
จดน้ำหนักสมุนไพรทุกขั้นตอน
เติมน้ำภายหลัง ให้ได้น้ำหนัก 30-50% ของสมุนไพรสด
การเคี่ยวหรือหุงในน้ำมัน
ควรใช้ : น้ำมันปาล์ม,น้ำมันมะพร้าว :สมุนไพร สด แห้ง 1-2 เท่า ของน้ำหนักน้ำมันพืช
วิธีทำ
ชั่งน้ำหนักสมุนไพร
ชั่งน้ำหนักน้ำมันพืช ยกตั้งไฟกลาง
เมื่อน้ำมันพืชร้อน ใส่สมุนไพรลงไปทีละน้อย ทอดจนกรอบ แล้วตักกากสมุนไพรทิ้ง ทำเรื่อยๆจนหมด
กรองน้ำมันพืชด้วยผ้าขาวบาง จึงนำไปใช้
การสกัดด้วยแอลกอฮอลล์
:
ตัวทำละลายคือเอทิลแอลกอฮอล์
ข้อเสีย : ได้สารที่ไม่ต้องการติดมาด้วย หากต้องการความเข้มข้นต้องใช้เครื่องทอราคาแพง จึงเหมาะกับระดับอุตสหกรรม
ได้สารเคมีจากในพืชมากที่สุด
มี 3 วิธี : การหมัก , การสกัดแบบต่อเนื่อง , การสกัดแบบชง
การหมัก Maceration
เหมาะกับสารที่ไม่ทนกับความร้อน
Ex. การสกัดพญายอ,การสกัดยานอนหลับ,ยาดองเหล้าของไทย
เครื่องมือ : ถังหมักคล้ายคูลเลอร์ มีก๊อกไขเอาสารละลายออก, เครื่องระเหยแห้งสุญญากาศ
วิธีทำ
ชั่งผงสมุนไพรสดหรือแห้งในถุงผ้า
แช่แอลกอฮอล์ 2-3 เท่าตัวในภาชนะปิดสนิททิ้งไว้ 7วัน คนทุกวัน
กรองเอาส่วนน้ำ บีบสารละลายออกจากกาก
เติมสารละลายเพื่อล้างกาก ทำซ้ำอีกครั้งเป็นการหมักซ้ำ เพื่อให้ได้สารสกัดมากที่สุด
เอาสารสกัด 2 ครั้งรวมกัน นําไปทําให้เข้มข้นด้วย
เครื่องระเหยแห้งสุญญากาศ
เพื่อป้องกันอันตรายห้ามทำให้เข้มข้นด้วยการตั้งไฟตรง เพราะแอลกอฮอล์จะระเหยออกมา แล้วกระจายในอากาศบริเวณนั้น
กวิสรา เร้ารุ่งอรุณ เลขที่ 11 ม.3/3