Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คำราชาศัพท์, ด.ญ.ชญานันท์ สุวรรณสะอาด ม.2/12 เลขที่15, 4B98AE890BCD4FA39AA…
คำราชาศัพท์
คำกริยา
คำกริยาราชาศัพท์
เช่น ตรัส เสด็จ เสวย พระราโชวาท พระราชโองการ ประทับ เป็นต้น
การใช้"ทรง"
ทรง + กริยาธรรมดา
เช่น ทรงเล่น ทรงยืน ทรงกราบ
ทรง + นามธรรมดา
เช่น ทรงงาน ทรงม้า ทรงช้าง ทรงดนตรี
นาม + นามราชาศัพท์
เช่น ทรงพระราชนิพนธ์ ทรงพระราชดำริ ทรงพระสรวล
ห้าม!! ใช้ทรง+กริยาราชาศัพท์
เช่น ทรงโปรด ทรงเสด็จ ทรงเสวย
การใช้"เสด็จ"
เสด็จ + คำกริยาธรรมดา
เช่น เสด็จไป เสด็จขึ้น
เสด็จ + คำกริยาราชาศัพท์
เช่น เสด็จประพาท เสด็จประทับ
เสด็จพระราชดำเนิน
ใช้กับ
พระมหากษัตริย์
สมเด็จพระบรม
เสด็จ
ใช้กับ
สมเด็จเจ้าฟ้า
พระองค์เจ้า
หม่อมเจ้า
การใช้"เสียชีวิต"
สวรรคต
ใช้กับ
พระมหากษัตริย์
สมเด็จพระบรม
สิ้นพระชนม์
ใช้กับ
สมเด็จเจ้าฟ้า
พระองค์เจ้า
สิ้นชีพตักษัย
ใช้กับ
หม่อมเจ้า
ถึงแก่อสัญกรรม
ใช้กับ
ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี
ถึงแก่อนิจกรรม
ใช้กับ
รัฐมนตรี
ถึงแก่พิราลัย
ใช้กับ
เจ้าเมืองประเทศราช
การให้
"ทูลเกล้าฯ ถวายแด่" ของยกได้ "น้อมเกล้าฯ ถวายแด่" ของยกไม่ได้
พระมหากษัตริย์
สมเด็จพระบรม
สมเด็จเจ้าฟ้า
ถวายแด่
พระองค์เจ้า
หม่อมเจ้า
คำกริยาสำหรับพระสงฆ์
เช่น บิณฑบาต จำพรรษา นมัสการ เป็นต้น
คำกริยาสำหรับคำสุภาพใช้กับบุคคลทั่วไป
เช่น ต้องการ คือ อยาก ทราบ คือ รู้
จำคุก คือ ติดคุก
ระดับของคำราชาศัพท์
พระมหากษัตริย์
พระบรมวงศานุวงศ์
พระสงฆ์
ข้าราชการขั้นสูง
สุภาพชน
ประโยชน์ของคำราชาศัพท์
ใช้ภาษาในการสื่อสารได้ถูกต้อง
รู้คำศัพท์มาขึ้น
อนุรักษ์มรกทางวัฒนธรรมของชาติ
เสริมสร้างบุคลิคภาพที่ดีแก่ตนเอง
คำนาม
คำนำหน้าคำราชาศัพท์
พระบรม/พระบรมราช
ใช้กับ
พระมหากษัตริย์
เช่น พระบรมราโชวาท พระบรมราชูปถัมภ์ เป็นต้น
พระราช
ใช้กับ
พระมหากษัตริย์/สมเด็จพระบรม
เช่น พระราชดำรัส พระราชดำริเป็นต้น
พระ
ใช้กับ
พระมหากษัตริย์/สมเด็จพระบรม/สมเด็จเจ้าฟ้า/พระองค์เจ้า/หม่อมเจ้า
เช่น พระขนง พระเขนย พระเนตร เป็นต้น
คำนามสำหรับพระสงฆ์
เช่น เจดีย์ วิหาร อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิ สมภาร บารต โยม
คำนามสำหรับคำสุภาพใช้กับบุคคลทั่วไป
เช่น มัจฉา หมายถึง ปลา ผลอุลิด หมายถึง แตงโม ขนมเส้น หมายถึง ขนมจีน
คำสรรพนาม
คำสรรพนามที่บุคคลทั่วไปใช้กับพระมหากษัตริย์
สรรพนามบุรุษที่ 1
ข้าพระพุทธเจ้า
สรรพนามบุรุษที่ 2
-ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท -ใต้ฝ่าละอองพระบาท -ใต้ฝ่าพระบาท
สรรพนามบุรุษที่ 2
ฝ่าพระบาท
สรรพนามบุรุษที่ 1
-เกล้ากระหม่อม -กระหม่อม
คำสรรพนามสำหรับพระสงฆ์
พระภิกษุใช้กับพระภิกษุ
พระมหากษัตริย์
สรรพนามบุรุษที่ 1
อาตมาภาพ
สรรพนามบุรุษที่ 2
มหาบพิตร
พระราชวงศ์
สรรพนามบุรุษที่ 1
อาตมาภาพ
สรรพนามบุรุษที่ 2
บพิตร
พระภิกษุที่ดำรงสมณศักดิ์สูงกว่า
สรรพนามบุรุษที่ 1
เกล้ากระผม
สรรพนามบุรุษที่ 2
ท่าน
พระภิกษุระดับเดียวกัน
สรรพนามบุรุษที่ 1
กระผม,ผม
สรรพนามบุรุษที่ 2
คุณ,เธอ
บุคคลทั่วไป
สรรพนามบุรุษที่ 1
อาตมา
สรรพนามบุรุษที่ 2
โยม,คุณ,เธอ
บุคคลทั่วไปใช้กับพระภิกษุ
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า(ราชวงศ์)
สรรพนามบุรุษที่ 1
ข้าพระพุทธเจ้า
สรรพนามบุรุษที่ 2
ใต้ฝ่าพระบาท
สมเด็จพระสังฆราช
สรรพนามบุรุษที่ 1
เกล้ากระหม่อม
สรรพนามบุรุษที่ 2
ฝ่าพระบาท
สมเด็จพระราชาคณะ
สรรพนามบุรุษที่ 1
กระผม,ดิฉัน
สรรพนามบุรุษที่ 2
พระคุณเจ้า
พระราชาคณะ
สรรพนามบุรุษที่ 1
กระผม,ดิฉัน
สรรพนามบุรุษที่ 2
พระคุณท่าน
พระภิกษุทั่วไป
สรรพนามบุรุษที่ 1
กระผม,ดิฉัน
สรรพนามบุรุษที่ 2
ท่าน
คือ คำที่ใช้กราบบังคมทูล
ปัจจุบันราชาศัพท์ คือ คำศัพท์ที่กำหนดขึ้นมาเพื่อใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ
ด.ญ.ชญานันท์ สุวรรณสะอาด ม.2/12 เลขที่15