Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มทฤษฎีปัญญานิยม หรือพุทธินิยม (Cognitive Theory) - Coggle Diagram
กลุ่มทฤษฎีปัญญานิยม หรือพุทธินิยม
(Cognitive Theory)
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์(Gestalt's Theory)
นักจิตวิทยา
แมกซ์ เวอร์ไทม์เมอร์
วุล์ฟแกงค์ โคห์เลอร์
เคิร์ท คอฟฟ์กา
เคิร์ท เลวิน
ทฤษฎีการเรียนรู้เกสตัลท์
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์
บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ
การรับรู้ (perception)
การแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง
การหยั่งเห็น(Insight) / การรู้แจ้ง
การพบวิธีแก้ไขปัญหาอย่างฉับพลัน
การมองเห็นแนวทางการแก้ไขปัญหาทันที
ขึ้นอยู่กับประสบการณ์เดิม / ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้
โคห์เลอร์
การรับรู้และเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของสิ่งเร้าต่าง ๆ เป็นภาพรวม
แล้วจึงมองเห็นความสัมพันธ์
ปัญหา --> ความสัมพันธ์ --> แก้ไขปัญหา
ภาพรวม >>> ส่วนย่อย
สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ต่าง ๆ ได้ จะต้องมี
ระดับสติปัญญาดีพอสมควร
ประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิม
การนำทฤษฎีไปประยุกต์ใช้
ครูควรสร้างบรรยากาศในการเรียนที่เป็นกันเอง
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการอภิปรายในชั้นเรียน
การกำหนดบทเรียนควรมีโครงสร้างที่มีระบบขั้นตอน
เนื้อหามีความสอดคล้องต่อเนื่อง
คำนึกถึงเจตคติและความรู้สึกของผูัเรียน
บุคลิกภาพของครูและความสามารถในการถ่ายทอด
แรงจูงใจให้ผู้เรียนมีความศรัทธาและLife space
ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory)
ทอลแมน (Tolman)
การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลตอบสนองต่อสิ่งเร้า
โดยใช้เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ ทำให้เกิดการเรียนรู้ความเข้าใจ
การตอบสนองด้วยความสัมผัส
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
(Intellectual Development Theory)
เพียเจต์ และ บรุนเนอร์<<<
เน้นเรื่องพัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลที่เป็นไปตามวัย
บรุนเนอร์ "การเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบตนเอง"
เพียเจต์ "การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา"
ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส(แรกเกิด-2ปี)
ขั้นก่อนปฎิบัติ(2-7ปี)
ขั้นการคิดแบบรูปธรรม(7-11ปี)
ขั้นการคิดแบบนามธรรม(11ปีขึ้นไป)
ทฤษฎีสนามของเลวิน(Lewin's Field Theory)
ทฤษฏีการเรียนรู้เลวิน
มีแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะทำไปสู่จุดหมายปลางทางที่ตนเองต้องการ
(Life space)
สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา
แรงขับ / แรงจูงใจ / เป้าหมาย / จุดมุ่งหมาย
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
คน / สัตว์ / สิ่งของ / สถานที่
พฤติกรรมมนุษย์แสดงออกมาอย่างพลังและทิศทาง
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(A Theory of Meaningful Verbal Learning)
ออซูเบล <<<
การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน
สามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งมาก่อน