Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติการสาธารณสุขฉบับที่มีใช้มาแต่ พ.ศ.2527 และพระราชบัญญัติควบคุมการใช้อุจจาระและปุ๋ยที่มีใช้มาแต่ พ.ศ.2497
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้และให้เจ้าพนักงานสาธารณสุขในการกำกับดูแลการทำงานของเจ้าพนักงาน
กฎหมายได้ให้คำจำกัดความของ ของเสียไว้ 2 ชนิด
"สิ่งปฏิกูล" หมายความว่า อุจาระหรือปัสสาวะและหมายความรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น
"มูลฝอย" หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร ถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหาร มูลสัตว์หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บจากถนน ตลาด ที่สัตว์เลี้ยง หรือที่อื่นกฎหมายแบ่งออกเป็น 16 หมวด
คณะกรรมการสาธารณสุข ให้ตั้งคณะกรรมการสาธารณสุข โดยมีปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการและกรรมการอีก 17 ให้มีหน้าที่เสนอคำแนะนำต่อรัฐมนตรี
กำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย ให้เป็นอำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นนั้น
สุขลักษณะของอาคาร เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้แก้ไข อาคารที่มีสภาพชำรุดทรุดโทรมอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
เหตุรำคาญ เจ้าพนักงานท้องถิ่น มีอำนาจออกคำสั่งเพื่อระงับ กำจัดและควบคุมเหตุรำคาญได้
บททั่วไป ให้รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขมีอำนาจจากการออกกฏกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพของปรชาชน
ตลาด ต้องได้รับใบอนุญาตหรือแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นก่อน
การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ เพื่อป้องกันอันตรายจากเชื้อโรคที่ติดสัตว์
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพจะต้องได้รับอนุญาตจากพนักงานท้องถิ่นก่อนดำเนินการ
การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นและปฎิบััติตามกฎเกณฑ์ต่างๆ
อำนาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข สามารถเข้าตรวจสอบ ออกคำสั่งให้แก้ไข ปรับปรุง หรือหยุดดำเนินการได้
หนังสือรับรองการแจ้ง เพื่อให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นทราบต้องแสดงหนังสือไว้ในที่เปิดเผย
ใบอนุญาต เพื่อขออนุญาตก่อนประกอบกิจการตามที่กฎหมายกำหนด
อัตราธรรมเนียมค่าปรับ ในกรณีขอต่อใบอนุญาตล่าช้าอาจถูกปรับ 20 %
การอุทธรณ์ มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขภายใน 3 วัน
บทกำหนดโทษ ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 500 ถึง 10,000 บาท หรือถูกจำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 6 เดือน หรือทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล