Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Ischemic stroke หลอดเลือดสมองตีบตัน - Coggle Diagram
Ischemic stroke
หลอดเลือดสมองตีบตัน
อาการ
ตาพร่ามัว มองไม่ชัด
อ่อนเพลีย
พูดผิดปกติ สับสน
หายใจเหนื่อย
on oxygen cannula 3 lpm
แขน-ขา ข้างซ้ายอ่อนเเรง
พยาธิสภาพ
ทำให้ไม่สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงสมองได้ไม่เพียงพอ
การตีบตันสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ของเส้นเลือด
การอุดตันของลิ่มเลือดที่ไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือด
การอุดตันของหลอดเลือด
มักเกิดจากความผิดปกติของผนังหลอดเลือด
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันไม่ได้
1.อายุฃมากขึ้น หลอดเลือดก็จะเสื่อมโดยผิวชั้นหลอดเลือดจะหนาและแข็งขึ้น
2.ภาวะการแข็งตัวของเลือดเร็วกว่าปกติ ส่งผลให้เกิดการจับตัวกันของเม็ดเลือดและมีลิ่มเลือด
3.มีประวัติเคยเป็นโรคหัวใจขาดเลือด
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้
1.ความดัน โลหิตสูง มีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดสมองได้มากกว่าคนปกติ
2.เบาหวาน เป็นสาเหตุที่ทำให้หลอดเลือดแข็งทั่วร่างกาย มีโอกาสมากกว่าคนปกติ 2-3 เท่า
3.ไขมันในเลือดสูง ไขมันสะสมอยู่ตามผนังหลอดเลือด ทำให้กีดขวางการลำเลียงเลือด
4.โรคหัวใจ เป็นสาเหตุของการเกิดลิ่มเลือด ถ้าลิ่มเลือดไปอุดตันที่หลอดเลือดสมอง
ก็จะทำให้สมองขาดเลือดได้
5.การขาดการออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายจำนวน 3 - 4 ครั้ง/ สัปดาห์
6.โรคอ้วน ควรควบคุมน้ำหนักให้มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI)
การรักษา
ยา
calcium carbonate
ยาเสริมในการป้องกันและรักษาโรคกระดูกพรุนเป็นอาหารเสริมเมื่อได้รับแคลเซียมในปริมาณที่ไม่เหมาะสม
ผลข้างเคียง :สับสน ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส้
carvedilol
รักษาหัวใจล้มเหลวและลดความดันโลหิต
ผลข้างเคียง : มือเท้าเย็นหรือมีอาการชา
ferrous fumarate
ยาเสริมธาตุเหล็ก
ผลข้างเคียง : มีอุจจาระสีดำซึ่งเป็นสีของยา ไม่เป็นอันตราย
Sodamint
ลดอาการท้องอืด อาหารไม่ย่อย
ผลข้างเคียง : อาจทำให้เกิดภาวะโซเดียมสูง คลื่นไส้ อาเจียน
Folic acid
รักษาอาการเจ็บป่วยจากการขาดกรดโฟลิค
ผลข้างเคียง : เวียนศีรษะ ไม่อยากอาหาร
Mixtard
ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด
ผลข้างเคียง : ตาพร่ามัว วิตกกังวล มึนงง
Cream base
รักษาผื่นที่เกิดจากฝุ่น
ผลข้างเคียง : มีอาการง่วงซึม
Vitamin b 12
ป้องกันและรักษาการขาดวิตามินบี 12
ผลข้างเคียง : มีอาการท้องเสียหรือผื่นขึ้นเล็กน้อย
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
E4V5M6
Motor power
แขนขวา 4 ,ขาขวา 4
แขนซ้าย 3 ,ขาซ้าย 2
การตรวจพิเศษ
Computerized Tomography scan brain หรือ
CT scan brain
Magnetic Resonance Imaging หรือ MRI
Lab
CBC
WBC 31.08 10³/uL (ต่ำ)
ค่าปกติ 4.8-10.8 10³/uL
NE 90.4 % (สูง)
ค่าปกติ 43-65%
PLT 423 10³/uL (สูง)
ค่าปกติ 140-400 10³/uL
LY 4.5 % (ต่ำ)
ค่าปกติ 21-46 %
Hct 22.7 % (ต่ำ)
MO 4.8 % (ต่ำ)
ค่าปกติ 6-11%
EO 0.1 % (ต่ำ)
ค่าปกติ 1-3 %:
Heparin
Albumin 2.87 g/dl (ต่ำ)
Creatinine 7.50 mg/dl (สูง)
BUN 53.2 mg/dl (สูง)
ค่าปกติ 6-20 mg/dl
Sugar 325 mg/dl (สูง)
ค่าปกติ 74-109 mg/dl
Electrolyte
Potassium 5.00 (ต่ำ)
ค่าปกติ 3.5-4.5 mmol/L
Chloride 92.2 mmol/L (ต่ำ)
ค่าปกติ 98-107 mmol/L
Sodium 128 mmol/L (สูง)
ค่าปกติ 136-145 mmol/L
Co2 20.4 mmol/L(ต่ำ)
ค่าปกติ 22-29 mmol/L
HbA1C 7.3 %(สูง)
ข้อวินิจฉัย/การพยาบาล
ปัญหาที่ 2 มีภาวะของเสียและน้ำคั่ง เนื่องจากภาวะไตวายเฉียบพลัน
1.ประเมินสภาพผู้ป่วย โดยสังเกตอาการเหนื่อยลดลง โดยประเมินสัญญาณชีพทุก 30 นาที ในระยะแรก และทุก 1 ชั่วโมง
2.ดูแลให้ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมตามแผนการรักษา และระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น
3.ดูแลให้สารน้ำวันละ 800 ml ต่อวัน เช้า 300 ml บ่าย 300 ml ดึก 200 ml
4.ติตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อดูการทำงานของไต ได้แก่ BUN , Cr
6.บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออก เพื่อประเมินความสมดุลของน้ำเข้าและออก
ปัญหาที่ 1 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง เนื่องจากสมองขาดเลือด
2.เฝ้าระวังอาการทางระบบประสาททุก 1 ชั่วโมง ถ้า coma scale ลดลงมากกว่าหรือเท่ากับ 2 ให้รีบรายงานแพทย์
3.ตรวจเฝ้าระวังสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
1.จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 15-30 องศา เพื่อให้การไหลเวียนของเลือด ไปเลี้ยงสมองได้ปกติ
4.ตรวจเฝ้าระวังภาวะพร่องออกซิเจน ถ้าพบ O2 sat < 90 % ให้รายงานแพทย์ใน 4 นาที
สังเกตและบันทึกอาการของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง เช่น ปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียนอย่างรุนแรง เกร็ง รูม่านตาไม่เท่ากัน หายใจผิดปกติ รีบแจ้งแพทย์
ปัญหาที่ 3 บกพร่องกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากแขนขาซ้ายอ่อนแรง
2.ให้การดูเเลสุขอนามัย ลดการหมักหม่มของเชื้อโรค
3.ส่งเสริมการเคลื่อนไหวบริเวณที่มีความบกพร่อง โดยให้ผู้ป่วยได้ปฏิบัติทุกวัน
1.ประเมินระดับความสามารถในการเคลื่อนไหว และสภาพอารมณ์ต่อความสามารถในการเคลื่อนไหว
ช่วยเหลือในการทำ Passive exercise และส่งเสริม Active exercise ในส่วนที่ทำได้เอง
สาเหตุ
หลอดเลือดสมองตีบ อุดตัน ทำให้ขัดขวางการลำเลียงเลือดซึ่งนำออกซิเจนและสารอาหารไปเลี้ยงเซลล์สมอง ส่งผลให้สมองสูญเสียการทำหน้าที่จนเกิดอาการของอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้