Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการชักนำการคลอด, นางสาวอาทิตยา สองพล …
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการชักนำการคลอด
ความหมาย
การทําให้เจ็บครรภ์คลอดด้วยวิธีการต่างๆ ก่อนที่จะมีการเจ็บครรภ์ คลอดเกิดขึนเองตามธรรมชาติ เพื่อให้การคลอดสินสุดลง เมื่อ GA > 28 wk หรือนําหนักของ ทารกไม่น้อยกว่า 1,000 gm (กรณีไม่ทราบอายุครรภ์)
การเร่งคลอด
ความหมาย
การกระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด เพิ่มขึนในหญิงตังครรภ์ที่มีอาการเจ็บ ครรภ์คลอดแล้วตามธรรมชาติ แต่ไม่มี ความก้าวหน้าในการเปิดขยายของปาก มดลูกหรือการเคลื่อนต่ำของส่วนนํา
การชักนำการคลอดแบ่งเป็น 2 ชนิด
ข้อบ่งชี้ทางการแพทย์(Indicatedinduction)
เพื่อประโยชน์ต่อทารกในครรภ์หรือมารดา เมื่อการตั้งครรภ์ทําให้เกิดอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ
นัดหมาย (Elective induction)
เพื่อความสะดวกของมารดาหรือบุคลากรทางการแพทย์ที่ให้การดูแล
ข้อบ่งชี้ในการชักนำการคลอด
ข้อบ่งชี้ทางสูติกรรม ได้แก่
มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ หรือมีภาวะชัก
postterm pregnancy
oligohydramnios
abruption placenta
premature rupture of membranes
chorioamnionitis
twin
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกมีความพิการแต่กำเนิดที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ใด้หลังคลอด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ข้อบ่งชี้ทางอายุรกรรม
โรคทางอายุรกรรมที่มีการดำเนินโรคแย่ลงในขณะตั้งครรภ์
ข้อห้ามในการชักนำการคลอด
ข้อห้ามในการชักนำการเจ็บครรภ์คลอดโดยเด็ดขาด (absolute contraindication)
ภาวะรกเกาะต่ำ หรือมีภาวะ vasa previ
มีการผิดสัดส่วนระหว่างทารกและช่องเชิงกราน
ทารกอยู่ในท่าขวาง
prolapsed cord
เคยได้รับการผ่าตัดคลอดชนิด classical cesarean section หรือผ่าตัดมดลูกที่แผลผ่าตัดเข้าถึงโพรงมดลูก หรือเคยมดลูกแตกมาก่อน
มะเร็งปากมดลูกชนิดลุกลาม
มีแผลโรคเริมที่อวัยวะสืบพันธุ์
ข้อห้ามที่อนุโลมให้ชักนำการเจ็บครรภ์คลอดได้หากมีความจำเป็น (relative contraindication) แต่ต้องทำด้วยความระมัดระวัง
มีแผลผ่าตัดคลอดชนิด low transverse Cesarean section
ทารกมีส่วนนำเป็นก้น
ส่วนนำของทารกยังไม่เข้าสู่อุ้งเชิงกราน
เป็นโรคหัวใจ
หัวใจทารกเต้นผิดปกติ แต่ยังไม่มีภาวะฉุกเฉินที่ต้องรีบผ่าตัดคลอด
polyhydramnios
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการชักนำ
สภาพและความพร้อมของปากมดลูก โดยจะมีเกณฑ์ให้คะแนนตามระบบของ Bishop score
จำนวนครั้งการตั้งครรภ์และการคลอดบุตร
GA
BMI ของหญิงตั้งครรภ์
น้ำหนักทารกในครรภ์
ความยาวของปากมดลูก
วิธีการชักนำการคลอด
ชักนำการคลอดโดยใช้หัตถการ
1.1 การเลาะถุงน้ำคร่ำ (Stripping of membranes)
วิธีการเลาะถุงน้ำคร่ำ
1.ใช้นิ้วที่ใส่ถุงมือปราศจากเชื้อเข้าไปในมดลูกด้านใน
2.เลาะแยกถุงน้ำคร่ำออกจากปากมดลูกและผนังมดลูกส่วนล่าง โดยหมุนนิ้วโดยรอบ 360 องศา
ห้ามทำกรณีมีรกเกาะต่ำ
การพยาบาล
แนะนำมารดาว่า การทำนี้อาจทำให้มารดาเกิดความไม่สุขสบาย
2.แนะนำมารดาถึงภาวะเสี่ยงต่างๆ เช่นการติดเชื้อ ถุงน้ำคร่ำแตก เลือดออกและการเจ็บครรภ์และคลอดฉับพลัน
1.2 การเจาะถุงน้ำคร่ำ (Amniotomy)
การพยาบาล
เตรียมอุปกรณ์ เช่น Alis forceps, Amnihook, Amniotomy forceps หม้อนอน, ถุงมือ Sterile, KY gel, ผ้าขวางเตียง
อธิบายให้มารดาเข้าใจวิธีการทำและผลที่จะเกิดขึ้นภายหลังเจาะถุงน้ำคร่ำเพื่อให้ร่วมมือ และลดความวิตกกังวล
ให้มารดาถ่ายปัสสาวะ และจัดท่า ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ สอดหม้อนอนใต้ก้น
ประเมิน FHR
ช่วยแพทย์เจาะถุงน้ำ โดยเสิร์ฟถุงมือ Sterile, KY gel, และอุปกรณ์เจาะถุงน้ำ
ไม่ทำการเจาะขณะที่มดลูกหดรัดตัว
ภายหลังเจาะสังเกตสีและลักษณะของน้ำคร่ำที่ไหลออกมา บันทึกสี ลักษณะ และปริมาณน้ำคร่ำ เวลาที่เจาะและสภาพของปากมดลูก
ประเมิน FHR ทันที และฟังเป็นระยะ ๆ ทุก 15-30 นาที
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ถ้าเปื้อนมากให้เปลี่ยนผ้าขวางเตียง
ดูแลให้มารดานอนพักบนเตียง ป้องกัน prolapse cord
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 min-1 hr และประเมินความก้าวหน้าของการคลอดโดยการ PV
ประเมินอุณหภูมิร่างกายทุก 2 hr และประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
2.ชักนำการคลอดโดยการใช้ยา
การชักนำการคลอดโดยการใช้ยา prostaglandins (PGs)
prostaglandins E2
Prepidil gel, Cervidil (Prostin-E)
สอดยา 1 เม็ดเข้าช่องคลอดคืนก่อนวันเร่งคลอด
ภาวะเสี่ยง
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง
ทารกในครรภ์มีภาวะไม่มั่นใจในความปลอดภัย
เพิ่มอุบัติการตกเลือดหลังคลอดและมดลูกแตก
prostaglandine E1
Misoprostol (Cytotec)
ภาวะเสี่ยง
มดลูกแตก
ข้อบ่งชี้ในการใช้ยา
ใช้ในไตรมาสที่ 3
ให้ครั้งแรก 1/4 เม็ด
ให้ซ้ำห่างกันมากกว่า 4-6 ชั่วโมง
การชักนำการคลอดโดยการใช้ยา Oxytocin
เป็นฮอร์โมนที่ร่างกายสร้างขึ้นจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ชื่อการค้า Syntocinon
ข้อบ่งชี้ของการใช้ยา
สงสัยว่าทารกในครรภ์อยู่ในภาวะอันตราย เช่น IUGR
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
มารดาเป็นโรคบางอย่าง เช่น PIH OM
ทารกเสียชีวิต
มารดามีประวัติการเจ็บครรภ์และการคลอดเฉียบพลัน
ข้อบ่งห้ามของการใช้ยา
CPD
Prolapse cord
Transverse Lie
fetal distress
placenta previa
Vaso previa
previous C/S
Herpes simplex virus type l
CA Cervix ชนิดลุกลาม
อันตรายของการใช้ยา Oxytocin
เกิดจากการให้ยาเร็ว ทำให้ได้รับยาในปริมาณสูง
อันตรายต่อมารดา
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
อันตรายต่อทารก
ทารกในครรภ์มีอัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติ
ทารกมีภาวะขาดออกซิเจน
ถ้าคะเนกำหนดคลอดไม่ถูกต้อง ทารกอาจบาดเจ็บจากการคลอด
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
คลอดก่อนกำหนด
การพยาบาล
ก่อนให้ยา
ซักประวัติ ตรวจครรภ์ ตรวจ PV ประเมินหดรัดตัวของมดลูก ฟัง FHS วัดV/S
อธิบายให้มารดาทราบถึงจุดมุ่งหมายในการให้ยา และผลกระทบ
ดูแลให้ขับถ่ายเตรียมยา สารน้ำ Infusion pump
ขณะให้ยา
สังเกตและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาที
ฟัง FHS ทุก 15-30 นาที
ควบคุมอัตราหยดของ Oxytocin
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ดูแลบรรเทาอาการเจ็บครรภ์คลอด
ให้กำลังใจและอยู่เป็นเพื่อน
หลังคลอดและหลังให้ยา
ดูแลหลังคลอดทั่วไปตามปกติ
เฝ้าระวังภาวะตกเลือด ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด Bladder
ดูแลให้ Oxytocin อีกอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
นางสาวอาทิตยา สองพล
รหัสนิสิต 62010104
เซค 02