Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตและการดูแล…
บทที่ 4
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตและการดูแลระยะท้ายของชีวิต
การแจ้งข่าวร้าย
ผู้แจ้งข่าวร้าย
ทีมรักษาผู้ป่วย
ทีมPalliative care
แพทย์เจ้าของไข้
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
แบ่ง 5 ระยะ
ระยะต่อรอง (Bargaining)
รู้สึกตนเองมีความผิดที่ยังไม่ได้ทำบางอย่างที่ค้างคา
ระยะซึมเศร้า (Depression)
เบื่อหน่าย เก็บตัว ร้องไห้ หงุดหงิงง่าย ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ตนไร้ค่า
ระยะโกรธ (Anger)
อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว ต่อต้าน
ระยะยอมรับ (Acceptance)
ยอมรับสิ่งต่างๆตามความจริง ปรับตัวเรียนรู้ที่จะดำเนินชีวิตต่อไป
ระยะปฏิเสธ (Denial)
ไม่เชื่อผลการรักษา ไม่ยอมรับความจริง
ข้อมูลที่เป็นข่าวร้าย
พิการ
สูญเสียภาพลักษณ์
การกลับเป็นซ้ำโรค
รักษาไม่หาย
โรคไม่ตอบสนองต่อการรักษา
เสียชีวิต
ตัวอย่างที่พบในผู้ป่วยวิกฤต
การเจาะคอ
ใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำ
ภาวะแทรกซ้อนทำให้เสียชีวิต
ติดเชื้อ HIV
มะเร็งระยะลุกลามไม่สามารถรักษาได้
สูญเสียญาติ/คนที่รัก
บทบาทพยาบาล
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิต
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วยเพื่อได้รับความสุขสบาย
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาติ ว่าทีมสุขภาะจะดูแลอย่างดีที่สุด
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดำเนินโรค แนวทางการรักษา
ทำหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้อง ปกป้องให้ผู้ป่วยได้รับประโยชน์
ในระยะโกรธควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติ
ช่วยเหลือประคับประคองจิตใจ
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ เห็นใจ
สร้างสัมพันธภาพที่ดีดับผู้ป่วย/ครอบครัว
ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการรักษา
ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อ
ให้การช่วยเหลือในการจัดการสิ่งที่ค้างคาในใจ
สิ่งสำคัญภายหลังแจ้งข่าวร้าย
การให้ความช่วยเหลือร่วมมกับทีมดูแลไปสู่การวางแผนล่วงหน้า
บันทึกการแสดงเจตนารมณ์ล่วงหน้าก่อนตาย
ให้ความช่วยเหลือสนับสนุนผู้ป่วย/ครอบครัวให้ตัดสินใจเลือกแนวทางดูแลผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต (End of life care in ICU)
สนับสนุนให้มีการทำ family meeting
มโนทัศน์เกี่ยวกับการเจ็บป่วยระยะท้ายและภาวะใกล้ตาย
การดูแลแบบประคับประคอง
มุ่งเน้นเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วยโดยป้องกันและบรรเทาความทุกข์ทรมานต่างๆ
นิยามของ palliative care
ไม่ใช่การเร่งการตาย ไม่ยื้อความตาย ไม่ใช่การการุณฆาตแต่เป็นการยอมรับภาวะที่เกิดขึ้นและยอมให้ผู้ป่วยเสียชีวิตตามธรรมชาติ
ภาวะใกล้ตาย
เข้าสู่ใกล้เสียชีวิต อวัยวะสำคัญของร่างกายล้มเหลว คะแนนPPSน้อยกว่า 30
การดูแลระยะท้าย(end of life care)
การดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะท้ายของโรคโดยใช้หลักการดูแลอบบประคับประคอง
การเจ็บป่วยระยะท้าย
บุคคลอยู่ในภาวะความเจ็บป่วยที่คุกคามต่อชีวิต โรคลุกลามอย่างมาก
ประเด็นจริยธรรมที่สำคัญ
การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
พิจารณา
ระยะเวลาการมีชีวิตอยู่หลังผ่าตัด
แหล่งที่มาของอวัยวะ
โอกาสรอดชีวิตหลังผ่าตัด
การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำนวนจำกัด
ความจำเป็นของบุคคล เสมอภาค อายุ พิจารณาจากผลการรักษาว่ามีโอกาสประสบความสำเร็จเพียงใด
การยืดหรือการยุติการรักษาที่ยืดชีวิต
ยับยั้งการใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา
เพิกถอนการใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา
การบอกความจริง
ทางเลือกบอกความจริง
บอกความจริงบางส่วน
การหลอกลวง
บอกความจริงทั้งหมด
ประวิงเวลาการบอกความจริง
การุณยฆาต
โดยสมัครใจ
ผู้ป่วยร้องขอให้ยุติการรักษา ให้แพทย์ทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวติ
โดยผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้เอง
ทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตโดยเจตนา ปล่อยให้เกิดการตายตามธรรมชาติปราศจากการช่วยเครื่องมือแพทย์
แพทย์พิจารนา 3 ข้อ
เมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะเจ็บปวดทรมานอย่างแสนสาหัส
สิทธิส่วนบุคคลที่จะยุติชีวิตลง
ไม่ควรจะถูกบังคับให้ยืดชีวิตออกไปในสภาพที่ช่วยตนเองไม่ได้
การฆ่าตัวตายโดยความช่วยเหลือของแพทย์
หลักการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายใกล้ตาย
การประเมินสภาพ
ประเมินด้านจิตใจ
วิตกกังวล
สับสน
ภาวะซึมเศร้า
ประเมินด้านจิตวิญญาณ
เช่น ความต้องการกิจกรรมทางศาสนา
ประเมินอาการทางร่างกาย
ระบบหายใจ
ระบบประสาท
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบการควบคุมหูรูด
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบขับถ่าย
ประเมินด้านสังคม
ความต้องการของครอบครัว
ผู้ดูแลผู้ป่วย
ความรักความผูกพันของผู้ป่วยกับสมาชิกในครอบครัว
ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม
บทบาทของผู้ป่วยในครอบครัว
เครือข่ายทางสังคมและการสนับสนุนทางสังคม
การประเมินระดับ Palliative Performance Scale
แยก 3 กลุ่ม
PSS =40-70% ผู้ป่วยยู่ระหว่างกลุ่มทั้งสอง
PSS มากกว่าเท่ากับ 70% ผู้ป่วยอาการคงที่
PSS น้อยกว่าเท่ากับ30% ระยะสุดท้าย
องค์ประกอบการดูแล
การดูแลด้านอารมณ์และสังคมของผู้ป่วยและครอบครัว
การดูแลด้านจิตวิญญาณผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว
การดูแลทั่วไป
ดูแลให้ได้รับการประชุมครอบครัว
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่างๆ
การดูแลให้ผู้ป่วยและญาติเข้าถึงการวางแผนการดูแลล่วงหน้า(ACP)
แบ่ง 2 ชนิด
Living will / หนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข
Proxy
มอบหมายให้มีอำนาจตัดสินใจในการดูแลทางแพทย์ในวาระสุดท้ายของตน
การสื่อสาร
มีความเห็นใจครอบครัวที่ต้องประเชิญเหตุการณ์
บทสนทนาควรเน้นผู้ป่วยมากกว่าโรค
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจ
ปล่อยให้มีช่วงเงียบเพื่อให้ญาติได้ทบทวน
หลีกเลี่ยงคำศัพท์แพทย์
บอกการพยากรณ์โรคที่ตรงจริงที่สุด
ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว
การเริ่มประชุมครอบคครัวควรทำอย่างช้าวันที่3และ5
ควรมีแผ่นพับแนะนำครอบครัวถึงการเตรียมตัวก่อนประชุมครอบครัว
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต (manage dying patient)
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง (bereavement care)
ประเมิน 5 ด้าน
ความสามารถในการเคลื่อนไหว
ปฏิบัติกิจกรรม
รับประทานอาหาร
การทำกิจวัตรประจำวัน
ความรู้สึกตัว
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหอผู้ป่วยวิกฤต
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาล
การดูแลแบบผสมผสาน
การผสมผสานกายจิต
สวดมนต์ สมาธิ
อาหารและสมุนไพร
ระบบแพทย์เฉพาะ
แพทย์แผนจีน แพทย์แผนไทย
พลังบำบัด
สัมผัสบำบัด โยเร
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Multidisciplinary team
ทีมแพทย์ร่วมกันดูแลมากกว่า 1 สาขา
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤตมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
มุ่งการหายของโรคมากกว่าความสุขสบายของผู้ป่วย
ความไม่แน่นอนของอาการ
มีโอกาสที่ดีขึ้นแล้วกลับไปทรุดลงได้
ทรัพยากรมีจำกัด
ควรพิจารณาใช้กับผู้ป่วยที่มีโอกาสจะรักษาให้อาการดีขึ้นได้
คาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
มีความคาดหวังสูงที่จะดีขึ้นจากการเจ็บป่วยรุนแรง
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
ไม่เหมาะกับการเป็นสถานที่สุดท้ายก่อนผู้ป่วยจะจากไป
Professional culture
มุ่งให้มีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤต
แนวการคิดดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวคิดการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care)
เป็นการดูแลแบบองค์รวมโดยครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณยึดตามความเชื่อทางศาสนาของผู้ป่วย
จุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ป่วยผ่านพ้นช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิตอย่าสงบ สบาย
แนวคิดการดูแลตามทฤษฎีความสุขสบาย (comfort theory)
แบ่ง 3 ประเภท
ความสงบ ผ่อนคลาย (ease)
ความไม่สุขสบายหายไป
อยู่เหนือปัญหา (transcendence)
ความสุขที่อยู่เหนือความไม่สุขสบาย
บรรเทา (relief)
ไม่สุขสบายทุเลาลง
กิจกรรมการดูแลที่ส่งเสริม
การสอน แนะนำ เป็นพี่เลี้ยง
อาหารด้านจิตวิญญาณ เช่น จินตบำบัด การนวด
มาตราฐานการพยาบาลเพื่อความสุขสบาย
ดูแลแบบประคับประคองมุ่งให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบ
นางสาว ณัฐนรี คำใหญ่ 6201210361 เลขที่ 20 SecA