Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:warning:ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีว…
:warning:
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต
และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
:!!:
การแจ้งข่าวร้าย
ผู้แจ้งข่าวร้าย :!!:
ต้องได้รับการฝึกฝน และมีประสบการณ์ วิธีการแจ้งข่าวร้าย
มีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับแผนการรักษา ผลการรักษา และการดำเนินโรค รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ปฏิกิริยา :silhouette:
1.ระยะปฏิเสธ (Denial)
ตกใจ ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้
ไม่เชื่อ ไม่ยอมรับความจริง
2.ระยะโกรธ (Anger)
อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน
3.ระยะต่อรอง (Bargaining)
แฝงไว้ด้วยความรู้สึกผิด
ระยะซึมเศร้า (Depression)
เริ่มรับรู้ว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ความรู้สึกซึมเศร้าจะเริ่มเกิดขึ้น ระดับความรุนแรงขึ้นอยู่กับ ความเข้มแข็งของ แต่ละบุคคล
5.ระยะยอมรับ (Acceptance)
ยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง
บทบาทพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
รับฟังเปิดโอกาสให้ได้ซักถามข้อสงสัย
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจ
4.ยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติโดยไม่ตัดสิน
5.ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดำเนินโรค แนวทางการรักษา
6.อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย ให้ข้อมูลที่เป็นความจริง
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิตอย่างมีความหมาย
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วย
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาติ
10.ทำหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้อง ปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับประโยชน์ และปกป้องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามหลักจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาล
11.ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการรักษา
12.ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อ
ให้การช่วยเหลือในการจัดการสิ่งที่ค้างคาในใจ
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต
(End of life care in ICU)
มโนทัศน์
การเจ็บป่วยระยะท้าย
: ภาวะบุคคลอยู่ในภาวะความเจ็บป่วยที่คุกคามต่อชีวิต ไม่สามาถบำบัดรักษาเพื่อให้หายขาดได้ โดยเป้าหมายของการ
รักษาจะเปลี่ยนเป็นการดูแลแบบประคับประคอง
ภาวะใกล้ตาย :
การทำหน้าที่ของอวัยวะสำคัญของร่างกายลดลงหรือล้มเหลว PPS <30
palliative care
:
ไม่ใช่การเร่งการตาย ไม่ยื้อความตาย ไม่ใช่การุณฆาต แต่เป็นการยอมรับสภาวะที่เกิดขึ้น และยอมให้ผู้ป่วยเสียชีวิตตามธรรมชาติ
End of life care :
การดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะท้ายของโรคโดยใช้หลักการดูแลแบบประคับประคองเป็นแนวทางการให้บริการ
แนวคิด
Palliative care
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบองค์รวมโดยครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
comfort theory
บรรเทา (relief), ความสงบ ผ่อนคลาย (ease),
อยู่เหนือปัญหา (transcendence)
ประเด็นจริยธรรมที่สำคัญ
การุณยฆาต :red_cross:
การุณยฆาตโดยความสมัครใจ (Voluntary euthanasia) ผู้ป่วยร้องขอให้ยุติการรักษาพยาบาล แพทย์ทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตโดยเจตนาตามความประสงค์
การุณยฆาตโดยผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้เอง (Involuntary euthanasia)
ปราศจากการช่วยชีวิตด้วยเครื่องมือทางการแพทย์
แพทย์พิจารณา
สิทธิส่วนบุคคลที่จะยุติชีวิตลง
บุคคลไม่ควรจะถูกบังคับให้ยืดชีวิตออกไป
ในสภาพที่ช่วยตนเองไม่ได้และไร้การรับรู้ทางสมอง
เมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะเจ็บปวดทรมานอย่างแสนสาหัส
การยืดหรือการยุติการรักษาที่ยืดชีวิต :forbidden:
การยับยั้งการใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา
การเพิกถอนการใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา
การฆ่าตัวตายโดยความช่วยเหลือของแพทย์ (Physician-assisted suicide)
การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำนวนจำกัด
คำนึงถึงผลประโยชน์ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางให้มีประโยชน์มากที่สุดและยุติธรรม
การบอกความจริง
การบอกความจริงบางส่วน
การหลอกลวง
การบอกความจริงทั้งหมด
การประวิงเวลาการบอกความจริง
การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
(Organ transplantation)
พิจารณาเกี่ยวกับ โอกาสรอดชีวิตหลังผ่าตัด ระยะเวลาการมีชีวิตอยู่หลังผ่าตัด แหล่งที่มาของอวัยวะ
แนวทางการป้องกันและ
แก้ไขปัญหาทางจริยธรรม
ให้ความรู้แก่พยาบาลในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของพยาบาล
จริยธรรมสำหรับการทำงานของทีมสุขภาพ โดยมีความเคารพซึ่งกันและกัน
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
ในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติ
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียู
เป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้น ๆ มาร่วมดูแลในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
การดูแลแบบผสมผสาน
หลักการพยาบาลในการดูแล
ผู้ป่วยระยะท้ายใกล้ตาย
1.การประเมินสภาพ
อาการทางร่างกาย
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านจิตวิญญาณ
2.การประเมินระดับ PPS
ผู้ป่วยที่มีอาการคงที่ (PPS>70%)
ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (PPS 0-30%)
ผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างกลุ่มทั้งสอง (PPS 40-70%)
หลักการพยาบาล :silhouettes:
การสื่อสาร
ที่มีประสิทธิภาพสามารถลดความไม่
สุขสบายใจ ลดการเกิดความไม่พอใจของครอบครัว
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
การดูแลทั่วไป
ความสะอาดร่างกาย ให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การดูแลด้านอารมณ์และสังคมของผู้ป่วย
และครอบครัว
(Psychosocial care)
การดูแลด้านจิตวิญญาณผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว
ดูแลให้ได้รับการประชุมครอบครัว (Family meeting)
เพื่อสร้างความเข้า ใจที่ดีระหว่างทีมสุขภาพกับ ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับโรคและระยะของโรครวมไปถึงการดำเนินโรคและการพยากรณ์โรค แนวทางของ การดูแลผู้ป่วยในอนาคต รวมทั้งประเมินความต้องการด้านอื่นๆ ของผู้ป่วย
การดูแลให้ผู้ป่วยและญาติเข้าถึงการวางแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning [ACP])
บุคคลที่มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์ ที่มีอายุครบ 18 ปีขึ้นไป
ต่ำกว่า 18 ปี พ่อแม่ ผู้ปกครอง ญาติ สามารถตัดสินใจแทน โดยการทำหนังสือแสดงเจตจำนงล่วงหน้า (Advance directives)
Living will
หรือ พินัยกรรมชีวิต หรือ
หนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข
Proxy
คือ บุคคลใกล้ชิดที่ผู้ป่วยมอบหมายให้มีอำนาจตัดสินใจในเรื่องการดูแลทางการแพทย์ในวาระสุดท้ายของตน
บทบาทของพยาบาล
สื่อสารร่วมกันระหว่างทีมสุขภาพกับผู้ป่วยและญาติ
เพื่อทบทวนเป้าหมายและแผนการรักษา
การคอยช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
ทำการวางแผนการดูแลล่วงหน้า
การรวบรวมเอกสาร
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต
(manage dying patient)
ยุติการรักษา ยา
ปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่าง ๆ นำสายต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นออก
ควรปิดประตูหรือปิดม่านให้มิดชิด
ทำความสะอาดใบหน้า ช่องปาก และร่างกายผู้ป่วย
อธิบายครอบครัวถึงอาการต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น และวิธีการจัดการช่วงเวลานี้
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและเป็นการทำให้ญาติมั่นใจว่าทีมสุขภาพไม่ได้ทอดทิ้ง
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง (bereavement care)
:smiley:การสื่อสารที่ดี และดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตอย่างใกล้ชิด
สามารถช่วยลดการเกิดความเครียดจากการสูญเสียคนรักได้
(post-traumatic stress disorder)