Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิง อายุ 44 ปี ขี่รถมอเตอร์ไซค์ล้ม หมดสติ ฟื้นขึ้นมาจำเหตุการณ์ไม…
ผู้ป่วยหญิง อายุ 44 ปี
ขี่รถมอเตอร์ไซค์ล้ม หมดสติ ฟื้นขึ้นมาจำเหตุการณ์ไม่ได้
Fracture Pelvic
Incomplete Fracture/ Greenstick
กระดูกหักชนิดที่กระดูกบางส่วนยังติดกันอยู่
กรณีศึกษา : Incomplete Fracture/ Greenstick กระดูกหักชนิดที่กระดูกบางส่วนยังติดกันอยู่
Complete Fracture
กระดูกหักตลอดแนว ชนิดขาดความต่อเนื่อง
ได้รับแรงกระแทกโดยตรงบริเวณสะโพกซ้าย
Sign and Symptom
มีอาการปวดกระดูกเชิงกราน เวลานั่งบางท่า
มีอาการปวดกระดูกเชิงกราน จนไม่สามารถขยับสะโพกได้
มีอาการบาดเจ็บร่วมของระบบทางเดินปัสสาวะหรืออวัยวะภายในอุ้งเชิงกราน
มีอาการบาดเจ็บของเส้นประสาทบริเวณเอวส่วนล่างและก้นกบ บางรายอาจรุนแรงไปถึงการเสียชีวิตเนื่องจากเสียเลือดปริมาณมาก
กรณีศึกษา : ปวดบริเวณสะโพกซ้าย ขยับฝั่งซ้ายได้เล็กน้อย ยืนแล้วเซล้ม
Closed Fracture or Simple Fracture
กระดูกหักชนิดธรรมดา ซึ่หักแล้วไม่เกิดรอยฉีกขาดของเนื้อเยื่อ
Open Fracture or Compound Fracture
กระดูกหักชนิดมีบาดแผลเมื่อกระดูกหักแล้วเกิดรอยฉีกขาดของกล้ามเนื้อ และผิวหนัง ทำให้มีบาดแผลที่ผิวหนังติดต่อกับกระดูกที่หักภายใน
Pathologic Fracture
กระดูกหักจากโรคที่รบกวนสมดุลของการปรับแต่งกระดูก
การติดเชื้อกระดูก
กระดูกพรุน
มะเร็งความผิดปกติของเมตาบอลิซึม
Treatment
ผล X-Ray
กรณีศึกษา :
Retention หรือ Immobilization
การทำให้กระดูกอยู่นิ่งด้วยการยึดตรึง แบ่งออกเป็น 2 แบบ
การยึดตรึงภายใน (Open reduction with internal fixation : ORIF)
การผ่าตัดใส่โลหะ
สกรูว์ (Screw)
ลวด (Wire)
เพลท (Plate)
การยึดตรึงภายนอก (External Fixation)
การเข้าเฝือกปูน
การใช้เครื่องมือตรึงภายนอก (External Fixation)
ใช้กับผู้ป่วยที่กระดูกหักแบบมีแผล (Compound Fracture)
กรณีศึกษา : เริ่มเดินโดยใช้ Walker ช่วยเดิน ให้ Bed rast
Left Wrist Dislocation
ข้อมือถูกกระแทก
เกิดการเลื่อนหลุดหรือเคลื่อนออกจากบริเวณข้อต่อ
Sign and Symptom
กรณีศึกษา : ผู้ป่วยบ่นปวดข้อมือซ้าย ตรวจร่างกายพบ ข้อมือบวม
มีอาการบวมหรือฟกช้ำบริเวณข้อมือ ข้อมือบิดหรืออยู่ในลักษณะผิดรูป
ปวดหรือเจ็บบริเวณข้อมือ โดยเฉพาะขณะขยับมือหรือข้อมือ
Treatment
Reduction
การจัดกระดูกให้เข้าที่ แบ่งเป็น 2 แบบ
การดึงให้เข้าที่แบบไม่ผ่าตัด (Closed Reduction หรือ Manipulation)
การดึงด้วยมือหรือการดึงถ่วงน้ำหนัก (Traction)
กรณีศึกษา : ได้ทำการดึงให้เข้าที่แบบไม่ผ่าตัด (Closed Reduction หรือ Manipulation) พร้อมกับใส่เฝือกและ Arm Sling คล้องแขนไว้
การดึงให้เข้าที่โดยการผ่าตัด (Open Reduction)
TBI หรือ HI
กลไกการเกิดการบาดเจ็บศีรษะ
แบ่งออกเป็น 2 แบบ
การบาดเจ็บโดยตรง (Direct Injury)
บาดเจ็บเกิดบริเวณศีรษะโดยตรงมี 2 ชนิด
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะอยู่นิ่ง (Static Head Injury)
บาดเจ็บที่เกิดแก่ศีรษะขณะอยู่นิ่งหรือเคลื่อนไหวเล็กน้อย
ถูกยิง
ถูกตี
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่ (Dynamic Head Injury)
บาดเจ็บที่เกิดแก่ศีรษะขณะที่ศีรษะมีความเร็วไปกระทบกับวัตถุที่อยู่นิ่งหรือกำลังเคลื่อนที่
ขับรถไปชนต้นไม้
ขับรถไปชนกับรถที่วิ่งสวนทาง
กรณีศึกษา : บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่ (Dynamic Head Injury) ผู้ป่วยขับรถมอเตอร์ไซค์ล้ม
การบาดเจ็บโดยอ้อม (Indirect Injury)
การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับส่วนอื่นของร่างกาย แล้วมีผลสะท้อนทำให้เกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะขึ้น
ตกจากที่สูงก้นกระแทกพื้น
ระยะของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก (Primary Head Injury)
เป็นการบาดเจ็บที่เกิดทันทีที่มีแรง
กระทบต่ออวัยวะชั้นต่างๆ ของศีรษะดังนี้
หนังศีรษะ (Scalp)
บาดแผลที่เกิดบริเวณหนังศีรษะ มีลักษณะต่างๆ
บวมช้ํา
หรือโน (Contusion)
ถลอก (Abrasion)
ฉีกขาด (Laceration)
หนังศีรษะขาดหาย (Avulsion)
กะโหลกศีรษะ (Skull)
กะโหลกแตกร้าวบริเวณฐาน (Basilar Skull Fracture)
มักเกิด
ร่วมกับกะโหลกแตกร้าว เป็นแนวตามขวางของกระดูกด้านข้าง หรืออาจแตกเฉพาะบริเวณฐาน
กะโหลก สามารถวินิจฉัยจากอาการและอาการแสดง
รอยเขียวคล้ำ บริเวณหลังหู (Battle’s sign)
แก้วหูฉีกขาด เลือดออกหลังแก้วหู มีน้ําหรือเลือดไหลทางจมูก (Rhinorrhea) หรือทางรูหู
(Otorrhea)
ผิวหนังบริเวณรอบเบ้าตาเขียวคล้ำ (Raccoon’s eyes)
กรณีศึกษา : มี Raccoon eyes
กะโหลกแตกร้าวเป็นแนว (Linear Skull Fracture)
สาเหตุจากการกระทบ
อย่างแรงเป็นบริเวณกว้างของกะโหลก (Middle fossa) การแตกชนิดนี้ทําให้หลอดเลือดของเยื่อดูรา
และเนื้อสมองส่วนนั้นฉีกขาดเกิด Epidural Hematoma, Acute Subdural Hematoma และ Brain Contusion
กะโหลกแตกยุบ (Depressed Skull Fracture)
เกิดเนื่องจากแรง
กระทบบนบริเวณที่แคบกว่าชนิดกะโหลกแตกร้าว แรงกดที่กระทําต่อกะโหลกต้องแรงกว่าหรือ
เท่ากับ ความหนาของกะโหลกส่วนนั้น
เนื้อสมองช้ำ (Brain Contusion)
เป็นภาวะที่มีเลือดแทรกอยู่ระหว่างเซลล์สมอง
ใต้เยื่อเพีย (Subpial Space) โดยไม่มีการฉีกขาดของเยื่ออแรคนอยด์ และเพียทําให้ผิวของสมองมีสีคล้ำ Sulcus และ Gyrus หายไป
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง (Secondary Head Injury)
เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดหลังจาก
การบาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรกโดยใช้ระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง หรือเป็นวัน ดังนี้
เลือดออกในสมอง (Intracranial Hematoma) แบ่งตามตําแหน่งที่เกิดดังนี้
Epidural Hematoma
เป็นก้อนเลือดที่รวมตัวจากการมีเลือดออกจากหลอดเลือดแดง
และหลอดเลือดดํา Middlemeningeal หลอดเลือดดํา Superior Sagittal Sinus และ Diploic
Subdural Hematoma
เป็นก้อนเลือดที่รวมตัวจากการที่มีเลือดออกจากหลอดเลือดดํา
Cortical และ Bridging ใต้เยื่อดูรา แบ่งเป็น 3 ชนิดดังนี้
Subacute Subdural Hematoma
เป็นการเกิดก้อนเลือดใต้เยื่อดูราที่ทําให้เกิดอาการภายใน 2 วันถึง 2 สัปดาห์
Chronic Subdural Hematoma
เป็นการที่มีเลือดซึมออกมาใต้เยื่อดูรา เป็นผลให้ผู้ป่วยแสดงอาการมากกว่า 2 สัปดาห์หลังเกิดอุบัติเหตุ
Acute Subdural Hematoma
เป็นการเกิดก้อน
เลือดอย่างรวดเร็วและมีขนาดใหญ่ทําให้เกิดอาการภายใน 48 ชั่วโมง
Intracerebral Hemorrhage
เป็นภาวะที่หลอดเลือดในสมองหรือหลอดเลือดระหว่างกระดูกและสมองแตกออก ทำให้เลือดไปสะสมและกดอัดเนื้อเยื่อสมอง ถือเป็นภาวะที่อันตรายและร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้
กรณีศึกษา : Right Basal Ganglia Hemorrhage
Right Basal Ganglia Hemorrhage
5 more items...
สมองบวม (Cerebral edema)
เป็นภาวะที่เนื้อสมองเพิ่มปริมาตรเนื่องจากการบวมน้ํา
ภายหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
ความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูง (Increased Intracranial Pressure)
ภาวะที่มีความดันของสารเหลวในช่องเวนตริเคิล (Ventricular Fluid Pressure) ประมาณ 15 มิลลิเมตรปรอท
หรือ 200 มิลลิเมตรน้ำขึ้นไป
ภาวะสมองเคลื่อน (Brain Displacement)
เป็นภาวะที่เนื้อสมองเคลื่อนสู่บริเวณอื่นที่ไม่ใช่
ตําแหน่งที่ตั้งตามปกติ ภายหลังที่ไม่สามารถปรับสมดุลภายในกะโหลกศีรษะได้ต่อไป เนื่องจากการ
มีก้อนเลือดหรือสิ่งกินที่ (Space Occupying Lesion) สมองบวมและความดันภายในโพรงกะโหลกเพิ่มขึ้น ทําให้เบียดเนื้อสมองจนกระทั่งเคลื่อนสู่ช่องเปิดภายในและภายนอกกะโหลกศีรษะ
แบ่งเป็น 3 ระดับ
Moderate HI
GCS 13-14 - GCS 15 และมี Vomiting (<2 episodes), Loss of consciousness, Headache, Post-traumatic amnesia, Drug/alcohol intoxication, Risk of bleeding tendency, Dangerous mechanisms
กรณีศึกษา : ผู้ป่วยหมดสติ GCS 15 คะแนน
Severe HI
GCS <15 หลังได้รับอุบัติเหตุมาแล้ว 2 ชั่วโมง, สงสัย opened skull fracture หรือ fracture base of skull, Vomiting (≥ 2 episodes), GCS ลดลงอย่างน้อย 2 แต้ม โดยไม่ได้มีสาเหตุมาจาก seizures, drugs, shock หรือ metabolic factors, มี Focal neurological signs, Posttraumatic seizure, Age ≥65 และมี LOC หรือ amnesia, Use of anticoagulant
Mild HI
Asymptomatic - GCS 15 - No headache
การบาดเจ็บของศีรษซึ่งเกิดจากแรงภายนอกมากระทำที่ชั้นหนังศีรษะ กะโหลกศีรษะ เนื้อสมองหรือเส้นโลหิต ทำให้เกิดความผิดปกติในหน้าที่การทำงานของสมอง ส่งผลให้เกิดความพิการทางกายและจิตใจ อาจทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของความรู้สึกตัวเพียงชั่วขณะหรืออย่างถาวรได้