Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญาแนวคิดทฤษฎีทางการศึกษา : : - Coggle Diagram
ปรัชญาแนวคิดทฤษฎีทางการศึกษา : :
บทบาทของปรัชญาการศึกษาต่อการจัดการศึกษา
ช่วยในด้านกำหนดเป้าหมายหรือกำหนดสิ่งอันมีค่าสูงสุดในการดำเนินการกิจการศึกษา
วิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความหมายโดยใช้เหตุผล
ความหมายขอปรัชญา
ศาสตร์ว่าด้วยที่ว่าด้วยความคิดความเชื่อและวิธีแสวงหาความจริงในความรู้ของคุณค่าของสรรพสิ่งในโลก
คุณค่าปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาช่วยให้เกิดความเข้าใจแนวคิดและกิจกรรมที่เป็นอยู่ชัดเจน ขจัดความขัดแย้งหรือความไม่สอดคล้องต้องกันในประเดนต่างๆในวงการศึกษา
ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาการศึกษาที่ยึดเนื้อหาปรัชญาทั่วไปเป็นแม่บท
ยุคกลาง
ปรัชญาตะวันตกยุคกลางมีลักษณะทางปรัชญาที่ผสมผสานคำสอนของศาสนาเฉพาะคริสต์กับปรัชญา
เซนต์ ออกัสติน :pen: ความสมบรูณ์และความยิ่งใหญ่ของพระผู้เป็นเจ้าคือความเป็นภารนิรันดร
เซนต์โทมัส :pen: ความดีคือความสุขและความสุขที่แท้จริงคือการเข้าถึงพระเจ้าและเข้าถึงสวรรค์อันเป็นอาณาจักราของพระเจ้าชั่วนิรันดร
ยุคปัจจุบัน
สมรรถภาพในการคิดทุกคนมีกลไกคล้ายคลึงกัน กลไกการรับรู้ซับซ้อนยิ่งกว่านั้น จึงได้อธิบายเรื่องต่างๆนา ๆ เรียกว่า สัทธิค้านท์ใหม่ จัดเป็น 8 กลุ่ม
2.ลัทธิปฏิบัตินิยม
ลัทธิอัตถิภาวนิยม
ลัทธิอัชฌัตติกญาณนิยม
ลัทธิสัจนิยมใหม
ลัทธิปฏิฐานนิยม
ลัทธิปฏิฐานนิยมใหม่
ลัทธิภาษาวิเคราะห์
ลัทธิอัสสมาจารย์นิยมใหม่
อารยธรรมตะวันตกแบ่งออกเป็น 4 อารยธรรม
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมอียิปต
ยุคกรีกโบราณ
กรีกยุคมนุษยนิยม
ไพธากอรัส
:pencil2:" มนุษย์เป็ นเครื่องวัดทุกสิ่งทุกอย่าง”
กรีกยุครุ่งเรือง
โสรเคติส
“ คนมีความรู้จะไม่ท าผิด และคน
ที่ทำผิดเพราะเขาไม่รู้ว่าอะไรถูก ”
อริสโตเติล
ความสุขเป็ นความรู้สึกของวิญญาณไม่ใช่
ร่างกาย
พลาโต
ทฤษฎีแห่ง
มโนคติและจักรวาลวิทยา
กรีกยุคธรรมชาตินิยม
นักปรัชญา 6 ท่าน
1.ธาเลส >ทุกสิ่งเกิดจากน้ำ
2.อาเนกซิมานเดอร์ >ธาตุเป็นสารไร้รูปแต่แต่เป็ นสิ่งที่อยู่เป็นนิรันดร และแผ่ซ่านไปไม่มีที่สิ้นสุด
3.อาเนกซิเมเนส >อากาสเป็นปฐมธาตุของโลกเพราะอากาสแผ่
ขยายออกไปไม่มีที่สิ้นสุดและมี "พลังขับเคลื่อน "ไม่สิ้นสุด
4.เฮราคลีตุส >“ ปฐมธาตุของโลกคือไฟ เพราะทุกสิ่งมาจากไฟและจะกลับเข้าไปสู่ไฟ
5เอ็มพิโดคลิส >“ ปฐมธาตุของโลกคือธาตุ 4 ได้แก่ ดิน น้ำ ลม ไฟ ”
6.ไพธากอรัส >“ ปฐมธาตุของโลกมีอยู่ ๒ อย่างคือ จิต และ สสาร
กรีกยุคจริยศาสตร์
นักปรัชญายุคนี้กระตุ้นความสุข
จากจิตใจที่สงบ สร้างมิตรภาพ
ลัทธิเอพิคคิวเรียนนิยม
ถ้าเราดำรงชีวิตอยู่ด้วยปัญญา
จึงจะได้มาซึ่งความสุข ”
ลัทธิสโตอิคนิยม
“ชะตากรรม เป็นสิ่งที่เราหลีกไม่พ้นเพราะฉะนั้นเราจะต้องยอมรับชะตากรรมของตนด้วยความอดทนสงบเสงี่ยม ”
ลัทธิสุขนิยมหรือรตินิยม
ความสุขอยู่ที่ความแสวงหาความพึงพอใจให้ได้มากที่สุดขณะมีชีวิตอยู่
ลัทธิซีนิค
“ ความสุขคือการตัดทุกสิ่งในชีวิตออกไปไม่ให้เหลืออะไรเลย แม้แต่สิ่งที่จำเป็นมีชีวิตอยู่ในแต่ละวันอย่างไร้กังวลจุดหมายสูงสุดของชีวิตคือความเป็ นอิสระจากความสุขและทรัพย์สมบัติทั้งมวล
ยุคใหม่
นักปรัชญาที่พยายามค้นคว้าเรื่องที่พิสูจน์ได้และ
เป็นประโยชน์ต่อชีวิตมนุษย์ ทำให้เกิดวิทยาการใหม่ๆแยกตัวออกไปเป็นศาสตร์ต่างๆ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์แลโหราศาสตร์ เป็นต้น
ยุคดึกดำบรรพ์
ยุคหินใหม่
ยุคหินเก่า
ปรัชญาตะวันออก
ระบบแนวคิดหลักการและความรู้ต่างๆ
ปรัชญาอินเดีย
เป็นปรัชญาทุกสำนักหรือทุกระบบที่เกิดขึ้นในอินเดียหรือที่สร้างสรรค์ไว้โดยศาสดาและนักคิดที่มีชีวิตอยู่และกำลังมีชีวิตอยู่ในอินเดีย
อาสติกกะ
นาสติกา
ปรัชญาญี่ปุ่น
หลักอภิปรัชญาญี่ปุ่น ปรากฎการณ์ต่างๆเกิดจากการดลบันดาลเทพพระเจ้า
หลักจริยศาสตร์ ปฎิบัติในเรื่องราวของความภักดีต่อครอบครัว ภักดีตอบชุมชน และภักดีต่อรัฐอันเป็นการแสดงออกด้วยองค์จักรพรรค
3ลักษะณะปรัชญาญี่ปุ่น
ฐานมิกาโต ระบบการนับถือจักรพรรด
ความภักดีต่อบรรพบุรุษ
ความภักดีต่อครอบครัว
ความภักดีต่อสังคมในชาติ
ปุตสุโต พระพุทธศาสนา ความภักดี
ต่อพระพุทธศาสนา
ฐานชินโต มีแบบแผนเท่าเทียมศาสนาอื่นที่เข้ามาใหม่
ปรัชญาจีน
ปรัชญาแห่งความรู้เป็นผลสัมฤทธิ์ของการคิดไตร่ตรองตามหลักเหตุผลและเป็นวิธีที่จะนำมาปฎิบัติ เป็นอุดมคติที่ก่อให้เกิดประโยชน์ในชีวิตและสังคม
ปรัชญาม่อจื๊อ
ปรัชญาจวงจื๊อ
ปรัชญาเม่งจื๊อ
ปรัชญาซุ่นจื๊อ
ปรัชญาเล่าจื๊อ
ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
ปรัชญาขงจื๊อ
ปรัชญาไทย
ปรัชญาไทยเป็นปรัชญาเชิงพุทธิ เพราะสังคมไทยใช้หลักพุทธธรรมในการดำรงชีวิตประจำวันตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ปรัชญาไทยสรุปได้ 5 ด้าน
ด้านสุนทรียศาสตร์
ด้านสังคม
ด้านจริยศาสตร์
เชื่อผลของกรรม
เชื่อในความที่สัตว์มีกรรมเป็นของตน
เชื่อกฎของกรรม
เชื่อความตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
ด้านอภิปรัชญา
ด้านการเมือง
แนวความคิดตามระบบปรัชญาแบบตะวันแบ่งออกเป็น 3 สาขาวิชา
ญาณวิทยา Epistemology
คุณวิทยา Axiology
อภิปรัชญา Metaphysics