Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมสมุนไพร, 161B2843-3723-467B-801B-BA1A1CEF9C74, E657E0A5-88B3-4E4B…
การเตรียมสมุนไพร
แบบผงแห้ง
1.การเก็บสมุนไพรสด
-
-
ช่วงระยะเวลาที่เก็บ
-
-
-
-
พืชที่ใช้รากหรือหัว
เก็บช่วงที่พืชหยุดการเจริญเติบโต
ใบร่วงหมด (เรียก ช่วงเวลานี้ว่า ลงหัว) ซึ่งมักเป็นช่วงต้นฤดูหนาวถึงปลายฤดูร้อน
2.การล้างสมุนไพรให้สะอาด
โดยเฉพาะส่วนที่ขุดจากดิน ต้องล้างดินออกให้หมด และผึ่งในถาด ตะแกรงโปร่ง ที่มีรูขนาดกลางเพื่อระบายน้ำให้สะเด็ดน้ำ หันให้มีขนาดเล็กลงวัสดุที่ใช้เป็นถาด ได้แก่ ถาดสแตนเลสเจาะรู กระด้งที่มีรูขนาดกลาง หรือแคร่ไม้ไผ่ที่สะอาด
3.อบหรือตากแห้ง
-
ผึ่งให้แห้ง
-
มักใช้วิธีผูกเป็นมัดเล็กๆ แขวนที่เชือก
หรือใส่กระดัง กระจาดที่มีรู้วางไว้ในที่โปร่งไม่โดนแดดส่องถึงโดยตรง มีลมพัดผ่านเกือบตลอดเวลา
-
-
-
-
แบบสารสกัด
-
ขั้นตอน
1.1 ให้ชั่งสมุนไพรสด หรือแห้ง (ตามข้อแนะนำของแผนโบราณ) ย่อยสมุนไพรให้มีขนาดเล็กพอประมาณห้ามบดละเอียด
1.2 เติมน้ำ 3-5 เท่า ของน้ำหนัก ถ้าเป็นสมุนไพรสดจะใช้น้อยกว่า โดยให้น้ำท่วมสูงเกินสมุนไพรประมาณ 5 นิ้ว จดบันทึกน้ำหนักของน้ำที่ใช้ ถ้าเป็นสมุนไพรแห้งให้แช่ในน้ำ 20 นาที ก่อนนำขึ้นตั้งไหปานกลางจนเดือด จับเวลาเมื่อเริ่มเดือด ใช้เวลาประมาณ 30-45 นาที หากน้ำแห้งให้เติม เมื่อสีน้ำสกัดไม่เข้มจากเดิมให้ยกลงกรองด้วยผ้าขาวบาง 3 ชัน
1.3 นำกากมาต้มซ้ำเช่นเดิม และรวมน้ำสกัด 2 ครั้งเข้าด้วยกัน ตั้งไฟเคี่ยวต่อจนได้ น้ำหนักที่ต้องการ การเคี่ยวอาจไม่ใช้ไฟตรง เพื่อหลีกเลียงการไหม้ ส่วนใหญ่จะนิยมให้น้ำหนักน้ำสกัดเท่ากับน้ำหนักสมุนไพรที่นำมาสกัด เมื่อสกัดเสร็จแล้วได้ น้ำสกัด 1 กก. ซึ่งง่ายต่อการคำนวณสัดส่วนในเครื่องสำอาง
1.4 ข้อเสีย กรณีที่จะเตรียมเก็บไว้นานๆอาจมีเชื้อแบคทีเรีย หรือราทำให้บูดเน่าเสียได้ง่าย สามารถแก้ไขได้ 2 วิธี
-
-
เช่น เคี่ยวจนเหลือน้ำหนัก 1 ใน 5แต่ต้องระวังไม่ให้ไหมัและจดน้ำหนักสุดท้ายที่ได้ หลังจากนั้นให้สรุปการสกัด และเก็บข้อมูลไว้เป็นเทคนิคในการสกัดครั้งต่อไป
1.5 ปัจจัยที่ต้องควบคุมในการสกัดแบบต้ม ได้แก่ อัตราส่วนระหว่างน้ำและสมุนไพร เวลาที่ใช้ต้ม รายละเอียดอื่นๆ สารสกัดที่ได้ต้องเท่าเดิม และจดรายละเอียดทุกครั้งที่สกัดโดยทำเป็นรายงาน
-
-
-
ข้อเสีย
การสกัดแบบนี้สารสกัดสมุนไพรไม่ค่อยคงตัวมักต้องใช้สารกันบูดควรเตรียมแล้วผลิตเครื่องสำอางทันที หรือแช่เย็นไว้ 1 วัน ก่อนใส่ในเครื่องสำอาง
การควบคุมคุณภาพ
-
-
-
เติมน้ำภายหลัง ให้ได้น้ำหนักประมาณ 30-50% ของน้ำหนักสด (ต้องให้ได้น้ำเท่าเดิมทุกครั้งที่สกัด เช่น น้ำสกัดน้ำหนักเป็นหนึ่งเท่า หรือเท่าครึ่งของสมุนไพรสด)
-
-
-
ข้อเสีย คือ ได้สารที่ไม่ต้องการติดมาด้วย และในการทำให้เข้มข้น ต้องใช้เครื่องมือที่มีราคาแพง จึงเหมาะสมสำหรับการสกัดในระดับอุตสาหกรรมเท่านั้น
3วิธี
การหมัก
-
-
วิธีทำ
-
-
-
-
-
เอาสารสกัด 2 ครั้งรวมกัน นำไปทำให้เข้มข้นด้วยเครื่องระเหยแห้งสุญญากาศ เพื่อป้องกันอันตรายต่อคนทำงานและป้องกันการทำลายสิ่งแวดล้อม ห้ามนำไปทำให้เข้มข้นด้วยการตั้งโฟตรง หรือตุ๋นในลังถึงหรือเครื่องไอน้ำ เพราะแอลกอฮอล์ที่ระเหยออกมาขณะทำงาน จะกระจายในอากาศบริเวณนั้น ผู้ทำงานจะมีอาการเหมือนคนเมาเหล้าและสิ่งแวดล้อมจะเสียไป จึงไม่แนะนำการสกัดวิธีนี้ในชุมชน นอกจากสามารถพัฒนาเครื่องมือกักเก็บแอลกอฮอล์ที่ระเหยออกมาและนำกลับไปใช้ใหม่ได้
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-