Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Endocrine System 2 - Coggle Diagram
Endocrine System 2
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
(Posteriorpituitary gland)
ฮอร์โมนที่หลั่งจาก
ต่อมใต้สมองส่วนหลังสร้างมาจากเซลล์
ประสาทของhypothalamus
เซลล์ประสาทจะยื่น ส่วน axon เข้ามาในต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ต่อมธัยรอยด์ (Thyroid gland)
หน้าที่
อยู่ด้านล่างกล่องเสียง เเละอยู่ด้านหน้าของกระดูกอ่อนTrachea อันที่สองและสาม
ต่อมธัยรอยด์มี 2 Lobe ซ้ายและขวา เชื่อมต่อด้วยเนื้อต่อมที่มีลักษณะเเคบคือ Isthmus
ต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย บริเวณคอ
เซลล์ที่พบในต่อมธัยรอยด์
Follicular cell
เซลล์ที่มี Follicle ทำหน้าที่สร้าง
และเก็บของเหลวที่มีลักษณะข้น คือ Colloid
ถ้าต่อมยังไม่ทำงานจะพบFollicular cell
จะรูปร่างแบน
ถ้าต่อมสร้างฮอร์โมนเซลล์จะตัวโตขึ้นเป็นCuboidและมี Colloid สะสมอยู่น้อย เพราะถูกนำไปใช้ในเซลล์
ในของเหลวมีส่วนของGlycoprotien คือ ThyroglobulinThyroid hormone ที่ถูกเก็บไว้ในรูป Thyroglobulin
Thyroglobulin เปลี่ยนไปเป็น Tri-iodothyronine (T3) และ Thyroxine (T4)
หน้าที่ T3 เเละ T4
ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารต่างๆ
ควบคุม Lipid metabolism
เพิ่มการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตของลำไส้ ถ้าเด็กขาดฮอร์โมนนี้ ทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโตและการพัฒนาการทางสมองช้า กลายเป็น Cretinism เเต่ถ้าทำงานมากเกินไปทำให้เกิดคอพอก
เป็นฮอร์โมนที่มีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของสมองในช่วงเป็นตัวอ่อน
Parafollicular หรือ C-cell
ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน Calcitonin ซึ่งเป็น Polypeptide ทำหน้าที่ลดปริมาณแคลเซียมในเลือด และเกิดการสะสมแคลเซียมในกระดูก
เป็นรูปร่างไข่ขนาดใหญ่ พบจำนวนน้อยระหว่างเซลล์Follicles
Parathyroid gland
หน้าที่
พบอยู่ทางด้านหลังของต่อมธัยรอยด์
เป็นต่อมขนาดเล็ก รูปไข่ สีน้ำตาลเหลือง
หุ้มอยู่ใน Capsule ของต่อมธัยรอยด์แต่แยกจากกันด้วย
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันบางๆ ที่แทรกเข้าไประหว่างต่อม
เซลล์ที่พบในต่อมพาราธัยรอยด์
Chief cell
มีขนาดเล็ก รูปร่างหลายเหลี่ยม
ทำหน้าที่สร้าง Parathormone (PTH)
ถ้าระดับ Parathormoneมีเเคลเซียม
ต่ำผิดปกติ ทำให้กล้ามเนื้อกระตุก
ถ้าระดับ Parathormone สูงทำให้กระดูกพรุน
Oxyphil cell
เป็นเซลล์ที่มีขนาดใหญ่กว่า Chief cell และมีจำนวนน้อย
พบเซลล์นี้ได้ในอายุ 5 ขวบขึ้นเเละจะพบมากขึ้นเรื่อยๆ
Adrenal หรือ Suprarenal gland
ลักษณะ
รูปร่างแบน คล้ายพระจันทร์ซีก
มี Capsule หุ้ม ซึ่งเป็น Collagen connective tissue
ต่อมหมวกไตเป็นต่อมที่อยู่เหนือไตทั้ง 2 ข้าง
ส่วนของต่อม
Adrenal cortex
Glucocorticoidsกระตุ้นให้มีการ
สร้าง Glucose จาก Amino acidแทนการสร้างจากCarbohydrate ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
Mineralocorticoidsควบคุมระดับโซเดียมและ
โพแทสเซียมโที่ไต ทำให้มีการดูดโซเดียมเข้าสู่
กระแสเลือด แต่ขับโพแทสเซียมออกทางปัสสาวะ
Sex hormone เช่น Androgens และ Estrogens
Adrenal medulla
สร้างEpinephrine
สร้างNorepinephrine
Pinaeal gland or Epiphysis cerebri
ต่อมเหนือสมองอยู่บริเวณกึ่งกลางระหว่างรอยต่อของสมองส่วน cerebrum ซ้ายและขวา เป็นต่อมแบนๆ รูปกรวย
หน้าที่ของต่อมไพเนียล
Pinealocytes ผลิตและหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนินทำหน้าที่ควบคุม
การหลับอารมณ์ การเข้าสู่วัยหนุ่มสาวและการสืบพันธุ์
ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ ทำให้เป็นหนุ่มเป็นสาวช้าลง โดยระงับการหลั่งโกนาโดโทรปินให้น้อยลง