Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจล้มเหลว Congestive heart failure - Coggle Diagram
ภาวะหัวใจล้มเหลว
Congestive heart failure
ความหมาย
มี 2 ประเภท
Systoric heart failure or heart failure with Reduced EF ( HFREF ): หัวใจล้มเหลวที่เกิดร่วมกับการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย(left ventricle) ลดลง โดย left ventricular ejection fraction(LVEF)ต่ำกว่า 40 %
Diastoric heart failure or heart failure
with preserved EF(HFPEF) หัวใจล้มเหลวที่เกิดร่วมกับการบีบตัวของ หัวใจห้องล่างซ้ายปกติปกติ โดย left ventricular ejection fraction(LVEF)มากกว่า 40-50%
เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถสูบฉีด เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ได้ เพียงพอกับความต้องการในการเผาผลาญ
เป็นภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบตัวส่งเลือดให้เพียงพอกับความต้องการใช้ออกซิเจนเป็นภาวะที่หัวใจล้มเหลวโดยมีการคั่งของน้ําในร่างกาย
ประเภทที่ผู้ป่วยเป็น
Systoric heart failure or heart failure with Reduced EF ( HFREF ) :ค่า EF ผู้ป่วย 38%
การดูแลรักษา
การใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจเพื่อช่วยในการบีบตัว (Cardiac resynchronize therapy หรือ CRT) ตลอดจนใส่เครื่องกระตุกหัวใจหัวใจ (Implantable cardioverter defibrillator หรือ ICD) ในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้
มุ่งเน้นในการแก้ไขโรคที่เป็นสาเหตุของภาวะนี้ เช่น ถ้าเกิดจากโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ผู้ป่วยก็ควรได้รับการฉีดสีสวนหัวใจ เพื่อพิจารณาแก้ไขหลอดไเลือดโดยเร็วที่สุดเพื่อหยุดยั้งการดำเนินโรค
การรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ
ผู้ป่วยจำกัดปริมาณน้ำดื่ม 800ml/day
ผู้ป่วยได้รับยาขับปัสสาวะ Furusemide และ Spironolacton
การรักษาโดยการใช้ยาเพื่อชะลอการดำเนินโรคและฟื้นฟูการทำงานของหัวใจ
ปรับควบคุมปริมาณน้ำในร่างกายโดยการคุมอาหาร ปริมาณน้ำที่ดื่มในแต่ละวัน และการปรับยาขับปัสสาวะอย่างเหมาะสม
ภาวะแทรกซ้อน
การมีความดันในปอดสูง
ของเหลวคั่งในปอดและร่างกาย
อาการและอาการแสดง
หน้ามืด
ไตวาย ซึ่งเป็นผลจากอวัยวะสำคัญขาดออกซิเจนเรื้อรัง
อ่อนเพลีย
อาการเหนื่อยจากภาวะน้ำท่วมปอด
เหนื่อยง่าย
นอนราบไม่ได้
อาการของผู้ป่วย
เหนื่อยมากผิดปกติ
เท้าบวมที่ขาข้างขวา
นอนราบไม่ได้
หน้าบวม ขาบวม ซึ่งเกิดจากกลไกที่มีน้ำคั่งอยู่ในร่างกาย
การพยาบาล
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจากเบื่ออาหาร
จัดให้นอนศีรษะสูงขณะรับประทานอาหาร เพื่อป้องกันการสำลัก
ดูแลความสะอาดของปากและฟันเพื่อเพิ่มความอยากอาหาร
ประเมินภาวะทุพโภชนาการของผู้ป่วย คำนวณพลังงานที่ควรได้รับ = 1,035.7kcal/day
เพิ่มจำนวนมื้ออาหาร เป็นวันละ 5-6มื้อ ให้ครั้งละน้อย ไม่ควรเร่งรีบในการรับประทาน
ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ มีโปรตีนสูง เช่น ไข่ขาว ปลา นม
จัดอาหารให้น่ารับประทาน หรืออาจให้ผู้ป่วยเลือกอาหารเอง,ญาตินำมาให้ โดยไม่ขัดกับโรคที่เป็น
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากมีอาการเหนื่อยและสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม
แนะนำกิจกรรมให้ผู้ป่วยทำ เพื่อผ่อนคลาย เช่น ฟังเพลง
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามข้อสงสัย หรือระบายความรู้สึก
จัดสภาพแวดล้อมบริเวณเตียงผู้ป่วย ให้ปลอดโปร่ง จัดของให้เป็นระเบียบ ลดแสงไฟให้ไม่สว่างจนเกินไป
แนะนำให้หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนโดยเฉพาะมื้อเย็น เช่น น้ำชา กาแฟ น้ำอัดลม โคลา ช็อคโกแลต เป็นต้น
วางแผนกิจกรรมการพยาบาลให้เหมาะสมเพื่อจะได้ไม่รบกวนผู้ป่วยบ่อยเกินไปหรือโดยไม่จำเป็นในเวลากลางคืน
มีภาวะน้ำเกิน เนื่องจากการคั่งของน้ำและเกลือจากภาวะหัวใจ
ให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
แนะนำผู้ป่วยปรับพฤติกรรมการกินเลี่ยงอาหารที่มีโซเดียมสูง
จำกัดน้ำ 800ml/dayตามแผนการรักษา
ประเมินภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย เช่น อาการเหนื่อย อาการบวม
เสี่ยงต่อภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ เนื่องจากผลข้างเคียงของยาขับปัสสาวะ
ดูแลให้ดื่มน้ำ+จำกัดน้ำตามแผนการรักษา
ทาวาสลีนเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นให้ริมฝีปาก,ทาโลชั่นเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวหนัง
ประเมินความสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ในร่างกายผู้ป่วย
record I/O
ติดตามผลแลป โดยเฉพาะที่มีค่าผิดปกติ (โซเดียมต่ำ)
เฝ้าระวังภาวะ Hyponatremia ได้แก่ อาการ ปวดหัว อ่อนล้าหมดแรง
สาเหตุ
ความดันโลหิตสูง
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
มีพฤติกรรมสูบบุหรี่เป็นประจำ
ผู้ที่มีภาวะอ้วน
ขาดการออกกำลังกาย และพักผ่อนไม่เพียงพอ
มีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
หัวใจล้มเหลวอาจมีสาเหตุมาจากหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
ปัจจัยเสี่ยงที่ผู้ป่วยเป็น
10 ปีก่อนผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน สามารถก่อให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้
ผู้ป่วยอายุ 62 ปี