Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อ, Adrenal Gland(ต่อมหมวกไต) - Coggle Diagram
ระบบต่อมไร้ท่อ
อวัยวะที่มีหน้าที่รองจากต่อมไร้ท่อ
Thymus (ไทมัส)
สร้างฮอร์โมนThymosin
กระตุ้นการแบ่งเซลล์เม็ดเลือดขาว
ชนิด T-lymphocyte หรือ T cell
Digestive tract(ระบบย่อยอาหาร)
กระตุ้นการทำงานและควบคุมสมดุลในอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบย่อยอาหาร
สร้างฮอร์โมน
ซีครีทริน(Secretin)
โคเลซีสโตไคนินและเพนคลีโอไซมิน(Cholecystokinin;CCK and pancreozymin)
แกสทริน(Gastrin)
เอนเทอโรแกสโทน(Enterogastron)
Kidneys (ไต)
ขับของเสียในรูปปัสสาวะ
กระตุ้นการหลั่ง Aldosterone จากต่อมหมวกไต
บริเวณ DCT จะเปลี่ยนเป็นเซลล์ macula densa
เป็น chemoreceptor ตรวจจับปริมาณ Na+ ใน filtrate
ถ้า Na+ และปริมาตรของเลือดต่ำ จะมีการกระตุ้น JG cell สร้าง renin
เซลล์ของ afferent arteriole
เปลี่ยนเป็น Juxtaglomerula ( JG cell )
เป็น baroreceptor ตรวจวัดปริมาตร (volume) เข้าสู่ afferent arteriole
Heart(หัวใจ)
หลั่งฮอร์โมนเกี่ยวกับการควบคุมสมดุลสารภายในร่างกาย
สร้างฮอร์โมนAtrial natriuretic peptide (ANP)
Gonads(ต่อมเพศ)
ชาย
อัณฑะ
สร้างอสุจิซึ่งเป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย
ควบคุมพัฒนาการในความเป็นชาย
สร้างเทสโทสเทอโรน(Testosterone)
หญิง
รังไข่
สร้างเซลล์ไข่ซึ่งเป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง
เอสโทรเจน(Estrogen)
โพรเจสเทอโรน(Progesterone)
สร้างฮอร์โมนเพศหญิง
Pituitary gland (ต่อมใต้สมอง)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
endorphin
ระงับความเจ็บปวด
THS
กระตุ้นต่อมไทรอยด์
ACTH
กระตุ้นต่อมหมวกไต
plolactin
กระตุ้นการสร้างน้ำนม
Gonadotropins (LH and FSH)
ควบคุมการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์
GH
ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ADH
ควบคุมการดูดกลับน้ำที่ท่อหน่วยไต
Oxytocin
การบีบตัวของมดลูกในระหว่างคลอดลูก
ต่อมใต้สมองส่วนกลาง
MSH
สีผิวที่เข้มขึ้น
Thymus Gland (ต่อมไทมัส)
เป็นต่อมที่เจริญเต็มที่ในวัยทารกจนถึงอายุราว 6 ปี
จะเสื่อมสภาพและฝ่อไปในท้ายที่สุด
ผลิตสารฮอร์โมนไทโมซิน(Thymosin)
เป็นฮอร์โมนที่สร้างเสริมภูมิคุ้มกันใน(Antibody)ของร่างกาย
ตั้งอยู่บริเวณทรวงอก
Pineal gland (ต่อมไพเนียล)
เป็นต่อมขนาดเล็ก
อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนเซรีบรัม(Cerebrum )
มีเซลล์ไพเนียล(Pinealocyte) ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนเมลาโทนิน
ฮอร์โมนเมลาโทนิน(Melatonin)
การสร้างเมลาโทนินจะถูกกระตุ้นโดยความมืดและการหลั่งจะถูกยับยั้งโดยแสงสว่าง
ทำให้ง่วงนอน
มีผลต่อระบบสืบพันธุ์เนื่องจากยับยั้งการหลั่ง LH และ GnRH
Thyroid gland (ต่อมไทรอยด์)
follicular cell
สร้างฮอร์โมน
ระดับแคลเซียมของของเหลวในร่างกาย
ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายผ่านระบบการเผาผลาญพลังงาน(Metabolism)
tetraidothyronine(T4)
triiodothyronine(T3)
มีขนาดใหญ่ที่สุด
ลักษณะคล้ายปีกผีเสื้อ
มี 2 ข้าง
Islets of Langerhans(ต่อมอยู่ในตับอ่อน)
ผลิตฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin)
ควบคุมปริมาณน้ำตาลในร่างกาย
นำน้ำตาลในเลือดไปยังเนื้อเยื่อต่างๆเพื่อสร้างพลังงาน
นำน้ำตาลส่วนเกินเก็บสะสมเป็นพลังงาน
สำรองไว้ที่ตับ
สะสมเป็นไขมัน
Parathyroid Gland (ต่อมพาราไทรอยด์)
เซลล์ส่วนใหญ่ของพาราไทรอยด์คือ chief cell สร้างและหลั่ง parathyroid hormon (PTH)
เพิ่มการดูดซึมกลับของ Ca ในส่วนของท่อหน่วยไตส่วนปลาย (distal convoluted tubule) ทำให้ Ca ที่ปนมากับปัสสาวะลดลง แต่เพิ่มการขับออกของ PO4- ที่หน่วยไตมีผลให้ระดับ PO4- ในเลืดลดลง
การเพิ่มของ calcium ในเลือดทำได้โดย PTH ควบคุมการทำงานของ osteoclast ในกระดูก
การเพิ่ม calcium โดยการกระตุ้นการดูดกลับของ calcium ลำไส้เล็ก แต่การดูดกลับของลำไส้เล็กจะมีประสิทธิภาพจะถูกกระตุ้นโดย vitamin D
PTH หลั่งเมื่อ calcium ในเลือดต่ำ
อยู่บริเวณด้านหลังของ Thyroid gland มีต่อมเล็กๆ 4 ต่อม
Adrenal Gland(ต่อมหมวกไต)
มีสีเหลือง
อวัยวะขนาดเล็กที่สุด
Adrenal Cortex(เนื้อเยื่อชั้นนอก)
เจริญมาจากเซลล์มีเซนไคมาส
ผลิตฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์
ผลิตฮอร์โมนมินเนอราโรคอร์ติคอย
ผลิตฮอร์โมนเพศ
Adrenal Medulla(เนื้อเยื่อชั้นใน)
อยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทซิมพาเทติก
สร้างฮอร์โมนอะดรีนาลีน
สร้างฮอร์โมนนอร์อะดรีนาลีน