Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปองค์ความรู้กลุ่ม 5, นางสาววิไลวรรณ วารี 64121278034 …
สรุปองค์ความรู้กลุ่ม 5
ความหมายของผู้บริหารการศึกษา/ศึกษานิเทศก์
“ผู้บริหารการศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป
ศึกษานิเทศก์ (Supervisor) คือ ผู้ทำหน้าที่นิเทศ แนะนำ ชี้นำ กระตุ้นให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษา ให้เกิดความรู้ ความตระหนัก และมีทักษะในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งสามารถเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการสำหรับนักบริหารระดับสูงในองค์กรที่สังกัด เช่น ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อำนวยการกลุ่มงานต่าง ๆ เป็นต้น
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาและศึกษานิเทศก์
การบริหารการศึกษา
4Ms
กระบวนการบริหารการศึกษา
O – Organizing หมายถึง การจัดองค์การ
S – Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำงาน
D – Directing หมายถึง การสั่งการ
Co – Coordinating หมายถึง ความร่วมมือ
R – Reporting หมายถึง การรายงาน
B – Budgeting หมายถึง งบประมาณ
P – Planning หมายถึง การวางแผน
ศึกษานิเทศก์
การนิเทศการศึกษา มุ่งให้ครูรู้จักวิธีคิดค้นการทำงานด้วยตนเอง
การนิเทศการศึกษา ควรเป็นการแสวงหาความสามารถพิเศษ ของแต่ละบุคคล
การนิเทศที่ดี จะต้องสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง สร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน
การนิเทศการศึกษาจะต้องเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล
คุณลักษณะของผู้บริหารการศึกษา/ศึกษานิเทศก์
ผู้บริหารการศึกษา
ด้านการบริหารจัดการ
ด้านภาวะผู้นำ
ด้านบุคลิกภาพ
ด้านความรู้ทางวิชาการ
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ศึกษานิเทศก์
ความรอบรู้ในงานของศึกษานิเทศก์
ความรอบรู้ในการศึกษา และทันต่อความเปลี่ยนแปลง
ยอมรับจุดเด่นและจุดอ่อนของตนเองและผู้อื่น
สร้างความศรัทธาที่ผู้อื่นให้กับตน
ส่งเสริมให้เพื่อนร่วมทีมงานพัฒนาตนเอง
สร้างช่องทางให้มีความมุ่งมั่นและปฏิบัติงานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ภาวะผู้นำ
วิสัยทัศน์อันยาวไกล
ความหมายของค่านิยมที่พึงประสงค์ จิตอาสา และจิตประชาธิปไตย
จิตอาสา
จิตสำนึกเพื่อส่วนรวม เพราะคำว่า “สาธารณะ” คือ สิ่งที่มิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะจึงเป็นความรู้สึกถึง การเป็นเจ้าของใน สิ่งที่เป็นสาธารณะ ในสิทธิและหน้าที่ที่จะดูแล และ บำรุงรักษาร่วมกัน จิตอาสา หรือ มีจิตสาธารณะ” ยังหมายรวมถึง จิตของคนที่รู้จักความเสียสละ ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม จะช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อ เป็นหลักการใน การดำเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคม
และจิตประชาธิปไตย
ความคิดที่ยึดถือระบอบ การปกครองที่ถือมติประชาชนเป็นใหญ่ การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่
ค่านิยมที่พึงประสงค์
ความรู้สึก ซึ่งประกอบไปด้วยความนิยมชมชอบ พอใจ ยกย่องบูชาต้องการ และการตีค่าสิ่งต่างๆ โดยพิจารณาคุณลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งนั้นในเชิงจิตวิทยา สังคม จริยศาสตร์ ศาสนาและสุนทรียศาสตร์ เมื่อบุคคลพิจารณาตัดสินแล้วบุคคลจะยึดถือตามคุณลักษณะนั้นต่อไป
การวัดประเมินผลคุณลักษณะของผู้เรียน ตามค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตอาสา และจิตใจประชาธิปไตย
ขั้นที่ 1 กำหนดให้แน่ชัดว่าอะไรคือสิ่งที่ต้องการวัด
ขั้นที่ 2 สร้างข้อคำถาม โดยเลือกข้อคำถามที่สะท้อนถึงจุดมุ่งหมายในการวัด
ขั้นที่ 3 กำหนดรูปแบบสำหรับการวัด ว่าจะมีลักษณะของมาตรวัดเป็นเช่นไร
ขั้นที่ 4 ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาข้อคำถามที่สร้างขึ้นในรอบแรก
ขั้นที่ 7 การประเมินข้อคำถาม
ขั้นที่ 8 กำหนดความยาวที่เหมาะสมของมาตรวัด
ขั้นที่ 5 พิจารณาเลือกข้อคำถามที่มีความตรง
ขั้นที่ 6 นำมาตรวัดไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
บทบาทของผู้บริหารการศึกษา/ศึกษานิเทศก์
ผู้บริหารการศึกษา
มุ่งมั่นพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติตามได้เต็มศักยภาพ
ต้องตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับการพัฒนาของบุคลากร ผู้เรียน และชุมชน
พัฒนาแผนงานขององค์กรให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง
ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษา
พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็ลำดับ
ปฏิบัติงานขององค์กรโดยเน้นผลถาวร
รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์
เป็นผู้นำและสร้างผู้นำ
สร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์
ศึกษานิเทศก์
งานศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ
งานวิเคราะห์วิจัย
งานนิเทศเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐาน
แนวคิดเกี่ยวกับค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตอาสา และจิตใจประชาธิปไตย
มีจิตอาสา
การขัดเกลาทางสังคม
การปลูกฝังความเป็นพลเมืองดีตามประเพณีไทย
และจิตใจประชาธิปไตย
เคารพในสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ใช้หลักเหตุผลในการตัดสินปัญหาข้อขัดแย้ง
การเคารพในกฎ กติกาของสังคมเพื่อความสงบสุข
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของส่วนรวมและสังคม
การมีน้ำ ใจเป็นประชาธิปไตย
การยึดมั่นในหลักความยุติธรรม
ค่านิยมที่พึงประสงค์
ค่านิยมส่วนบุคคล
ค่านิยมในองค์กร
ค่านิยมของสังคม
การปลูกฝังสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตอาสา และจิตใจประชาธิปไตย
ปลูกฝังให้ตระหนักถึงความสำคัญของจิตสาธารณะ
การเตรียมความพร้อม ทั้งด้านร่างกายจิตใจ ด้านความรู้ และการติดต่อสื่อสาร
การสร้างความเชื่อมั่นในตน
การเข้าร่วมกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง
นางสาววิไลวรรณ วารี 64121278034
สาขาบริหารการศึกษา แผน ก ห้อง 2