Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(ประเภทของโฮสต์, คำควรรู้, การจัดกลุ่มปรสิต, การติดเชื้อปรสิต,…
ประเภทของโฮสต์
โฮสต์จำเพาะ
ปรสิตมีการผสมพันธ์
โฮสต์กึ่งกลาง
เปลี่ยนแปลงรูปร่าง
จากระยะหนึ่งไปเป็นอีกระยะหนึ่ง
โฮสต์พาราเทนิก
ไม่มีการเพิ่มจำนวน
โฮสต์ส่งผ่าน
ปรสิตไม่เพิ่ม รูปร่างเหมือนเดิม
โฮสต์กักตุน
โฮสต์ที่ปรสิตเข้าไปอาศัยอยู่และ
เจริญเติบโตถึงวัยเจริญพันธุ์
พาหะ (vector)
สิ่งมีชีวิตซึ่งนำปรสิตไปสู่โฮสต์
โฮสต์โดยบังเอิญ
ติดเชื้อโดยบังเอิญ
Carriers
ปรสิตมีน้อย แต่สามารถเเพร่เชื้อได้
แบ่งได้2ประเภท
Contact carriers (latent carrier)
มีเชื้อปรสิต ไม่เเสดงอาการ
Convalescent carrier
มีเชื้อ เเสดงอาการ
ภายหลังเมื่อไม่มีอาการ จะยังมีปรสิตเหลืออยู่
คำควรรู้
ปรสิตวิทยา(parasitology)
ศึกษาเกี่ยวกับปรสิต+ผลที่เกี่ยวเนื่องต่อ host
ปรสิต(parasite)
สิ่งมีชีวิตที่อาศัย+รับสารอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น(host)
โฮสต์(host)
คน เป็นที่อาศัย+แหล่งอาหารของปรสิต
การจัดกลุ่มปรสิต
ตามลักษณะชีวภาพ+สรีรวิทยาของปรสิต
Obligate parasite
อาศัยอยู่กับโฮสต์ตลอดเวลา
Facultative parasite
แพร่พันธุ์ได้ทั้งในและ
นอกร่างกายโฮสต์/ดำรงชีวิตอิสระ
Accidental parasite
เข้าไปอยู่ในโฮสต์ซึ่งไม่ใช่โฮสต์ปกติ
Opportunistic parasite
พวกปรสิตฉวยโอกาส
ตามตำแหน่ง
Ectoparasite
ปรสิตอาศัยอยู่ผิวนอกร่างกาย
Endoparasite
ปรสิตอาศัยอยู่ในอวัยวะ
Intra-cellular parasite
ปรสิตอาศัยอยู่ในเซลล์
Life cycle
Direct life-cycle
แบบง่ายๆ/ไม่มีโฮสต์ตัวกลาง
Indirect life cycle
แบบซับซ้อน/มีโฮสต์ตัวกลาง
การติดเชื้อปรสิต
การติดต่อเข้าร่างกาย
การกินระยะติดต่อ
ตัวอ่อน/ไข่พยาธิ
การไชผ่านผิวหนัง
ตัวอ่อนพยาธิปากขอ
การหายใจ
ไข่พยาธิเข็มหมุด
การส่งผ่านรก
การร่วมเพศ
การติดเชื้อในตนเอง
การติดเชื้อซ้ำ
แหล่่งก่อการติดเชื้อ
แหล่งเเพร่เชื้อ
คน/สัตว์
สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ อากาศ
อาหาร/น้ำดื่มที่ปนเปื้้อน
แมลงพาหะ
การจัดหมวดหมู่
พยาธิโปรโตซัว
โปรโตซัวในลำไส้ที่ก่อโรค
Entamoeba histolytica
ก่อโรคบิดมีตัว
ติดต่อสู่คนโดยการกินระยะซีสต์(4นิวเคลียส)ที่ปนในอาหาร น้ำดื่ม
ซีสต์
จะเจริญไปเป็นโทรโฟซอยต์
ทำลายผนังลำไส้ใหญ่อาจกระจายไปสู่อวัยวะอื่นๆ
ได้ อวัยวะที่พบบ่อยคือ ตับ
เกิดฝีบิดที่ตับ(หนองสีกะปิ)
ระยะซีสต์
ระยะโทรโฟซอยด์
อาการ
ปวดท้อง/ถ่ายบ่อย
อุจจาระมีมูกและเลือดปน/มีกลิ่นเหม็นเน่า
โพรงหนองฝี
การตรวจ:ตรวจอุจจาระ หาระยะโทรโฟซอยด์
Giardia intestinalis
ติดต่อโดยการกินระยะซีสต์
ที่ปนในอาหาร/น้ำดื่ม
อาการแสดง
อุจจาระร่วงเล็กน้อย-เรื้อรัง
อาการร่วม
ไข้เล็กน้อย
ปวดบริเวณลิ้นปี่
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ท้องอืด
อุจจาระเป็นมัน มีฟอง สีขาวขุ่น
การตรวจ:ตรวจอุจจาระหาระยะซีสต์
โปรโตซัวฉวยโอกาส
Cryptosporidium parvum
ติดต่อโดยการกินระยะโอโอซีสต์ที่ปนเปื้อนในอาหาร/น้ำดื่ม
เจริญ/เเบ่งตัวใน (microvilli)
อาการแสดง
ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ
อาจถึงวันละ 10-17 ลิตร
การตรวจ:ตรวจอุจจาระหาโอโอซีสต์
ย้อมด้วย Direct fluorescent antibody (DFA) assay (สารเรืองเเสง)
Cystoisospora belli
ติดต่อได้ทาง fecal-oral route
Life cycle
เมื่อได้รับระยะโอโอซีสต์ (oocyst)จะเปลี่ยนเป็นsporocysts เจริญในcytoplasm ของเซลล์เยื่อบุลำไส้
การตรวจ
ตรวจอุจจาระ
โปรโตซัวในเนื้อเยื่อ
Toxoplasma gondii
พบโอโอซีสต์ (oocyst) เป็นระยะติดต่อของ T. gondii อยู่ในมูลของแมว
ติดต่อสู่คนจากการกินเนื้อปรุงไม่สุก และอาหาร/น้ำ ที่ปนเปื้อนมูลเเมว
อาการ
อาการรุนเเรง:สมองอักเสบ (encephalitis)
แม่สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่ลูกในครรภ์เรียก การติดเชื้อตั้งแต่กำเนิด (congenital toxoplasmosis)
คนท้อง หากได้รับเชื้อไตรมาสเเรก
เกิดการแท้งหรือตายหลังคลอดหรือเด็กที่คลอดออกมามีลักษณะหัวโตสมองบวมน้ำ และมีหินปูนเกาะในเนื้อ
สมองบวมน้ำ
การตรวจ
ตรวจหาแอนติบอดีต่อปรสิต
แอนติบอดีชนิด IgM
การป้องกัน/การควบคุม
กินอาหารปรุงสุก/ผู้เลี้ยงแมวต้องระวังการติดเชื้อจากเเมว
โปรโตซัวที่อยู่ในอวัยวะสืบพันธ์ุ
Trichomonas vaginalis
เคลื่อนที่โดยแฟกเจลลา
เคลื่อนที่เเบบกระตุกๆ
มีระยะเดียวคือ โทรโฟซอยด์
อาการ
ในผู้ชาย
ท่อปัสสาวะอักเสบ
ในผู้หญิง
ช่องคลอดอักเสบ
เเสบคันช่องคลอด
โปรโตซัวที่อยู่ในกระเเสเลือด
Malaria
(มาลาเรีย)
พาหะนำโรค:ยุงก้นปล้อง
ติดเชื้อในเซลล์เม็ดเลือดเเดง
อาการ:ไข้ หนาวสั่น คล้ายไข้หวัดใหญ่
ป้องกันและมียารักษา
5สายพันธุ์ที่ก่อโรคในคน
– Plasmodium falciparum[PE] (15%)
รุนแรงสุด
– Plasmodium vivax[PV] (80%)พบมากในไทย
ทำให้เกิดไข้กลับซ้ำ
– Plasmodium ovale[PD]
ทำให้เกิดไข้กลับซ้ำ
– Plasmodium malariae[PM]
– Plasmodium knowlesi[PMK] (<1%)
วิธีแพร่เชื้อ
ทั่วไป
ยุงก้นปล้องกัด
ผิดปกติ
มาลาเรียเเต่กำเนิดจากแม่สู่ลูก
การถ่ายเลือด
การใช้เข็มฉีดยาทางเส้นเลือดร่วมกัน
ในพื้นที่ที่ไม่ใช่ถิ่นยุงแพร่เชื้อจากการกัดผู้อพยพ/นักท่องเที่ยวที่ติดเชื้อ
เเพร่ไม่ได้ใน
หนาวมาก
แห้งเเล้ง
ผู้มีคามเสี่ยง
เด็กอายุต่ำกว่า5ปีและทารกที่ไม่ได้ดูดนมเเม่
สตรีมีครรภ์
ก่อโรครุนเเรง/เพิ่มความเสี่ยงการตาย3เท่า
เพิ่มความเสี่ยงการเเท้งลูก การตายคลอด
ผู้ขาดสารอาหาร
ผู้ติดเชื้อHIV
ผู้ที่เข้าป่า/พื้นที่เกิดโรค/พื้นที่ที่มีการระบาด
อาการโรค
อาการเเสดง7-30วันหลังจากได้รับเชื้อ
แบ่งผู้ป่วยสองประเภท
Uncomplicated malaria (ไม่รุนเเรง)
Severe malaria(รุนเเรง)
อาการไม่จำเพาะ
ปวดหัว /ปวดกล้ามเนื้อ/อาเจียน
อาการจำเพาะ
ตัวสั่น10-15นาที
ไข้สูง10-36 ชั่วโมง
วนเวียน36-72ชั่วโมงซ้ำๆ
อากรหลักเกิดช่วง2-24 สัปดาห์
สัญญาณโรค
ที่ไม่ซับซ้อน
ไข้/ม้ามตับโต/ซีด โลหิตจาง
ที่รุนเเรง
ไม่รู่สึกตัว/หายใจผิดปกติ/ปอดบวม
ช็อก เพราะมาลาเรียขึ้นสมอง
การวินิจฉัย
ดูจากอาการทางคลินิก
การตรวจหาปรสิต
ส่องกล้องจุลทรรศน์แบบใช้เเสง
Giemsa-stained blood smears
Thick:ใช้ดีสุดสำหรับการตรวจคัดกรอง
Thin:ดีสุดสำหรับการวินิจฉัยเฉพาะ
Rapid diagnostic tests (RDTs)