Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax) - Coggle Diagram
บทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax)
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผู้มีหน้าที่เสียภาษีงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ ผู้ที่มีเงินได้เกิดขึ้นในระหว่างปีภาษี(ม.ค.-ธ.ค.)แบ่งได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้
ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี
ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี หมายถึง บุคคลธรรมดาที่มีเงินได้ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำต้องเสียภาษีแต่ถึงแก่ความตายก่อนยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีหรือในระหว่างปีภาษี
กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง หมายถึง รัพย์สินของผู้ตายในปีถัดจากปีที่ถึงแก่ความตาย แต่ยังม่ได้แบ่งให้ทายาท และกองมรดกดังกล่าวได้ก่อให้เกิดเงินได้พึงประเมินถึงเกณฑ์ขั้นต่ำตามที่กฎหมายกำหนด
ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
ห้างหุ้นส่วนสามัญ หมายถึง การที่บุคคลธรรมดาตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงเข้าทุนกัน ไม่ว่าจะเป็น
เงิน แรงงาน หรือทรัพย์สิน เพื่อกระทำกิจการร่วมกันซึ่งไม่ต้องห้ามตามกฎหมาย และไม่ขัดต่อศีลธรรม
บุคคลธรรมดา
บุคคลธรรมดา หมายถึง บุคคลโดยทั่วไปที่มีชีวิตโดยสภาพบุคคลย่อมเริ่มตั้งแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทรก และสิ้นสุดลงเมื่อถึงแก่ความตาย
วิสาหกิจชุมชน ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจซุมชน เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
บุคคลที่ได้รับการยกเว้นภาษี
1) บุคคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ตามสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือ
ทางเทคนิคระหว่างรัฐไทยกับรัฐบาลต่างประเทศ
2) องค์การสหประชาชาติ ทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติและเจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญขององค์การ หรือทบวง
3) สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุล บุคคลในคณะทูต บุคคลในคณะกงสุล และ
บุคคลที่ถือว่าอยู่ในคณะทูตตามความตกลง ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน
5) ยกเว้นให้บุคคลตามที่กำหนดไว้ในความตกลงระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกี่ยวกับสำนักงานใหญ่ขององค์การรัฐมนตรีแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในประเทศไทย
4) บุคคลที่อยู่ในประเทสที่มือนุสัญญาว่าด้วยการเว้นการเก็บภาษีซ้อนที่รัฐบาลไทยได้ทำไว้
หรือจะได้ทำกับรัฐบาลต่างประเทศ
6) เงินได้ที่ผู้ว่าการ ผู้ว่าการสำรอง กรรมการ กรรมการสำรอง พนักงาน ลูกจ้าง
7) บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติอเมริกันซึ่งเป็นลูกจ้างหรือพนักงานของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี
ในกรณีที่นายจ้างและลูกจ้างได้ทำสัญญากันโดยสุจริตก่อนใช้พระราชบัญญัติภาษีเงินด้ พุทธศักราช 2475 มีข้อกำหนดว่า นายจ้างจะชำระเงินบำเหน็จ เงินค่าธรรมเนียม เงินค่านายหน้า หรือเงินโบนัส ให้แก่ลูกจ้างเป็นจำนวนเดียวเมื่อการงานที่จ้างได้สิ้นสุดแล้ว
เงินเพิ่มพิเศษประจำตำแหน่ง และเงินค่าเช่าบ้าน หรือบ้านที่ให้อยู่โดยไม่ต้องเสีย ค่าเช่าสำหรับข้าราชการสถานฑูต หรือสถานกงสุลไทยในต่างประเทศ
เงินค่าเดินทางซึ่งนายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง เฉพาะส่วนที่ลูกจ้างได้จ่ายทั้งหมด
เพื่อการเดินทางจากต่างถิ่นในการเข้ารับงานเป็นครั้งแรก หรือในการกลับถิ่นเดิมเมื่อการจ้างสิ้นสุดลงแล้ว
เงินได้จากการขาย หรือส่วนลดจากการซื้ออากรแสตมป์หรือแสตมป์ไปรษณียากรของ
รัฐบาล
ค่าพาหนะและเบี้ยเลี้ยงเดินทางตามอัตราที่รัฐบาลกำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาว่า
ด้วยอัตรา ค่าพาหนะและเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
7 . เบี้ยประชุมกรรมาธิการหรือกรรมการหรือค่าสอน
ค่าสอบที่ทางราชการหรือสถานศึกษาของทางราชการจ่ายให้
ค่าเบี้ยเลี้ยง หรือ ค่าพาหนะ ซึ่งลูกจ้างหรือผู้รับหน้าที่หรือตำแหน่งงาน หรือผู้รับทำงาน
ให้ได้จ่ายไปโดยสุจริต
8.ดอกเบี้ย ดอกเบี้ยที่ได้รับยกเว้นภาษี ได้แก่ ดอกเบี้ยต่อไปนี้
8.1 ดอกเบี้ยสลากออมสิน
หรือดอกเบี้ยเงินฝากออมสินของรัฐบาลเฉพาะประเภทฝากเผื่อเรียก
8.2 ดอกเบี้ยเงินฝากประเภทออมทรัพย์ที่ได้รับจากสหกรณ์
เงินได้พึงประเมิน
1 . เงิน หมายถึง เงินตราไทย หรือเงินตราต่างประเทศ หรือตราสารที่มีค่าเสมือนเงินสดที่ได้รับเช่น ธนาณัติ ตั๋วแลกเงิน เช็ค ดร๊าฟ ฯลฯ
ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน หมายถึง ทรัพย์สินหรือสิ่งที่ได้รับและสามารถคิด
คำนวณได้เป็นเงินในระหว่างปีภาษีนั้น เช่น ลงทุนซื้อหุ้นได้รับผลตอบแทนเป็นหุ้นปันผล ผู้ให้เช่านาได้รับค่าเช่าเป็นข้าวเปลือก คนงานได้รับค่าแรงเป็นโทรทัศน์ เป็นต้น
ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน หมายถึง สิ่งที่ได้รับมากไมใช่เงินหรือทรัพย์สิน
แต่เป็นประโยชน์ที่ได้รับซึ่งสามารถนำมาคำนวณได้เป็นตัวเงิน
4.เงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้ การว่าจ้างบุคคลบางครั้งอาจให้สิทธิ
พิเศษ คือให้ทั้งเงินเดือนและออกภาษีแทนให้ด้วย ซึ่งเงินค่าภาษีที่ออกแทนให้นี้ถือเป็นเงินได้พึงประเมินด้วย โดย
ภาษีที่ออกให้สำหรับเงินได้ประเภทใด ให้ถือเป็นเงินได้ประเภทนั้น
เครดิตภาษีเงินปันผล คือ เครดิตภาษีเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งกำไรที่ได้รับจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เป็นการขจัดหรือบรรเทาภาษีซ้ำซ้อนของเงินปันผล
แหล่งเงินได้
คือ แหล่งที่มาของเงินได้ ตามมาตรา 41 แบ่งเป็นเงินได้จากแหล่งในประเทศและนอกประเทศ เงินได้จากแหล่งต่างๆนี้จะต้องนำไปรวมคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไม่
เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศผู้มีเงินได้พึงประเมินในปีภาษีที่ล่วงมาแล้วจากแหล่งใน
ประเทศไทย ไม่ว่าผู้มีเงินได้ประเทศไทย ไม่ว่าผู้มีเงินได้นั้นจะเป็นผู้อยู่ในประเทศไทยหรือไม่ก็ตาม และไม่ว่าเงินได้นั้นจะจ่ายในหรือนอกประเทศ
1.1 หน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย เช่น การจ้างแรงงาน บริการส่วนบุคคลหรือหน้าที่งานใดๆของมีเงินได้ที่ปฏิบัติงานในประเทศไทย
1.2 กิจการที่ทำในประเทศไทย เงินได้ที่เกิดจากการประกอบกิจการในประเทศไทยต้องเสีย
ภาษีให้แก่ประเทศไทย ไม่ว่าผู้มีเงินได้จะเข้ามาในประเทศไทยหรือไม่ก็ตาม
1.3 กิจการของนายจ้างในประเทศไทยปฏิบัติงานให้แก่กิจการในประเทศไทยของนายจ้างที่อยู่ในประเทศไทย โดยนายจ้างในประเทศไทยเป็นผู้จ่ายค่าจ้างให้แก่ผู้มีเงินได้
1.4 ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย ผู้มีเงินได้ได้รับดอกผลจากทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย เช่น ดอกเบี้ย ค่าเช่า เงินปันผล ฯลฯ
เงินได้จากแหล่งนอกประเทศ หมายถึง เงินได้ที่เกิดขึ้นหรือเป็นผลสืบเนื่องมาจากมี
2.1 หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ
2.2 กิจการที่ทำในต่างประเทศ
2.3 ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ
เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี
2.การยกเว้นตามกฎกระทรวงฉบับที่ 126
3.การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกา
การยกเว้นตามมาตรา 42 แห่งประมวลรัษฎากร
การยกเว้นตามกฎหมายอื่น
ประเภทเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย
3.เพื่อกำหนดหน้าที่และแบบแสดงรายการในการเสียภาษีเงินได้แต่ละประเภทได้พึงประเมิน 8 ประเภทและการหักค่าใช้จ่าย
เพื่อกำหนดวิธีการคำนวณภาษีของเงินได้ในแต่ละประเภท
เพื่อการคำนวณภาษีหักค่าใช้จ่ายให้เหมาะสมกับเงินได้แต่ละประเภท
เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์หักใช้จ่ายได้ดังนี้
กรณีการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางมรดกหรือได้รับจากการให้โดยเสน่หา หักค่าใช้จ่าย ได้ร้อยละ 50 ของเงินได้
กรณีการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางอื่น
การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแบ่งออกเป็น 2 ช่วงตามกำหนดเวลาการยื่นแบบแสดง รายการเพื่อชำระภาษี ดังนี้
คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี
คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี
เงินได้ที่แยกคำนวณได้
3.เงินได้ตามมาตรา 40(8) ที่ได้รับจากการขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดกจากการให้โดยเสน่หาหรืออสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยมิได้มุ่งทางการค้าหรือหากำไร
เงินได้ต่อไปนี้ผู็มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตรา 10% ของเงินได้ โดยไม่ต้องนำไปรวมกับเงินได้อื่นๆ
เงินได้ต่อไปนี้ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตรา 15% ของเงินได้โดยไม่ต้องนำไปรวมกับเงินได้อื่นๆ