Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระเบียบวิจัย - Coggle Diagram
ระเบียบวิจัย
ตัวแปร
หมายถึง สิ่งที่เปลี่ยนค่าได้เป็นหลายค่า เป็นลักษณะคุณภาพ คุณสมบัติของบุคคล สิ่งของ หรือสิ่งสนใจจะนำมาศึกษาที่สามารถนับได้วัดได้และแจกแจงได้หลายค่า ในการทำวิจัย เมื่อนำแนวคิดมาระบุนิยามปฏิบัติการแล้วจะกลายเป็นรูปของตัวแปรร โดยทั่วไปตัวแปรมี3 ชนิด คือตัวแปรอิสระ
ตัวแปรตาม และตัวแปรภายนอกหรือตัวแปรแทรกซ้อน
ประเภทของตัวแปร
ตัวแปรเชิงคุณภาพ เป็นตัวแปรที่ได้จากการแยกประเภท เช่น เพศ อาชีพตัวแปรเชิงปริมาณ เป็นตัวแปรที่ได้จากการวัด มีลักษณะที่ระบุเป็นตัวเลขเช่น นำ้าหนัก ส่วนสูง รายได้ต่อปี
การเขียนวัตถุของการวิจัย
การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือการบอกเป้าหมายหรือจุดมุ่งหมายที่นักวิจัยต้องการค้นคว้าหาข้อเท็จจริง วัตถุประสงค์ของการวิจัยจึงมี
ลักษณะใกล้เคียงกับปัญหาวิจัยแต่ไม่เหมือนกันทีเดียว
การเขียนวรรณกรรม
การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ได้กลายเป็นส่วนสำคัญของการวิจัย เพราะ จะทำให้ทราบว่ามีแนวคิดและทฤษฎีที่มีผู้ศึกษาไว้แล้วและผู้วิจัยต้องการค้นหาคำตอบจากแนวคิดหรือทฤษฎีใด สำหรับการศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เก่ียวข้องจะทำให้ผู้วิจัยเห็นแนวทางการวิจัยว่าใครศึกษาแล้วว่าเพื่อป้องกันการซ้ำช้อนในการวิจัย
การออกแบบการวิจัย
การออกแบบการวิจัย (Research design) หมายถึง การกำหนดกิจกรรมและรายละเอียดต่าง ๆ ที่
จะต้องทำ และวิธีการแนวทางต่าง ๆ ที่จะใช้เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลจากประชากรเป้าหมายเพื่อสามารถตอบ
ปัญหาของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้อย่างถูกต้อง (Validly) และแม่นย า (Accurately)
-
การจำแนกข้อมูล
1) จำแนกตามแหล่งที่มา ได้แก่ ข้อมูลปฐมภูมิ - ข้อมูลทุติยภูมิ
2) จำแนกตามคุณสมบัติการวัดข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลเชิงปริมาณ – ข้อมูลเชิงคุณภาพ
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม หมายถึง รูปแบบของค าถามเป็นชุดๆ ที่ได้ถูกรวบรวมไว้อย่างมีหลักเกณฑ์และเป็นระบบเพื่อใช้วัดสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการจะวัดจากกลุ่มตัวอย่างหรือประชากรเป้าหมายให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงทั้งในอดีต ปัจจุบันและการคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต
โครงสร้างแบบสอบถาม
- หนังสือนำหรือคำชี้แจง 2. คำถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัว 3. คำถามเกี่ยวกับคุณลักษณะหรือตัวแปรที่จะวัด
การอภิปรายผลการวิจัย
ควรนำผลจากการวิจัยมาวิเคราะห์เพื่อแสดงให้เห็นว่าลจากการวิจัยมีความแตกต่างหรือสอดคล้องกับทฤษฎี/แนวคิดใดหรือผลจากการวิจัยมีความสอดคล้องหรือแตกต่างจากงานวิจัยใดท่ีผู้วิจัยได้แสดงไว้ในบทท่ี วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือแสดงให้เหน็ว่าผู้วิจัยมีแนวคดิอย่างไร
โครงร่างการวิจัย
- ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 2. วัตถุประสงค์
- ขอบเขตในการวิจัย 4. นิยามศัพท์ 5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 6. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 7. วิธีดฎเนินการวิจัย
เชิงปริมาณ
มีเป้าหมายใหญ่ คือ การศึกษาความรู้ ความคิด พฤติกรรมของมนุษย์เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่เป็นเหตุเป็นผล พิสูจน์และอ้างอิงได้ ซึ่งนำไปใช้อธิบายหรือทำนายพฤติกรรมของคนในภาพกว้าง โดยให้ความส าคัญแก่ข้อมูลที่แจงนับหรือวัดออกมาเป็นตัวเลขได้
เชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการแสวงหาความรู้โดยการพิจารณาปรากฏการณ์สังคมจากสภาพแวดล้อมตามความจริงในทุกมิติ สนใจข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด การให้ความหมายหรือคุณค่ากับสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนค่านิยม พฤติกรรมหรืออุดมการณ์ของบุคคล
ความหมาย
การวิจัยเป็นการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีกระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ตามธรรมชาติอย่างมีระบบระเบียบและมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน เพื่อให้ได้ความรู้ที่เชื่อถือได้
ขั้นตอนการทำวิจัย
- เลือกหัวข้อปัญหาที่จะทำการวิจัย
- ศึกษาค้นคว้ารวบรวมความรู้พื้นฐาน และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
- ให้คำจำกัดความหัวข้อปัญหาที่จะทำการวิจัย
- สร้างสมมติฐาน
- พิจารณาแหล่งที่มาของข้อมูล
- สร้างเครื่องมือที่จะใช้ในการวิจัย
- การเก็บรวบรวมข้อมูล
- การจัดกระท าข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
- ตีความผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาข้อสรุป
- การเขียนรายงานการวิจัยและการจัดพิมพ์
แนวคิดเกี่ยวกับสมมุติฐาน
สมมติฐาน หมายถึง ข้อความที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดที่ผู้วิจัยมุ่งจะนำไปทดสอบว่าเป็นจริงใช่หรือไม่