Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Endocrine System - Coggle Diagram
Endocrine System
ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland)
ลักษณะ
มีก้านยึดติดกับสมองส่วน Hypothalamus เรียกก้านนี้ว่า
Infundibular stalk
บริเวณหน้าก้านนี้มีเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 ข้างขวาและซ้ายไขว้กันเป็น
รูปกากบาท เรียกว่า Optic chiasma
ต่อมใต้สมองมีขนาดเท่าผลองุ่น อยู่ในแอ่งของกระดูก Sphenoid
เรียกว่า Sella turnica
Adenohypophysis
Growth hormone
Prolactin
Adrenocorticotropin
Thyroid stimulating hormone
Luteinizing hormone
Follicle stimulating hormone
Neurohypophysis
Antidiuretic hormone
Oxytocin
ต่อมพาราธัยรอยด์
(Parathyroid gland)
ลักษณะ
เป็นต่อมขนาดเล็ก รูปไข่ สีน้ำตาลเหลือง มีทั้งหมด 2 คู่
Chief cell
สร้าง Parathormone (PTH)
เพิ่มระดับแคลเซียมและฟอสเฟตในเลือด โดยเร่งให้กระดูกสลาย
แคลเซียม
Oxyphil cell
หน้าที่ยังไม่ทราบแน่ชัด
ตับอ่อน (Pancreas)
ลักษณะ
อยู่ในช่องท้องใกล้กับลำไส้เล็กและกระเพาะอาหาร
ต่อมมีท่อทำหน้าที่เกี่ยวกับการย่อยอาหาร
ต่อมไร้ท่อ คือ Isles of Langerhans
Isles of langerhans
Beta cell สร้างฮอร์โมน
Insulin
Delta cells สร้าง Somatostatin ซึ่งยับยั้งการหลั่ง Glucagon และ Insulin
Alpha cell สร้างฮอร์โมน Glucagon
F cells
สร้าง Pancreatic polypeptide
Type of DM
Type I diabetes
Type II diabetes
ต่อมธัยมัส (Thymus gland)
ลักษณะ
ต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย
มีเลือดมาเลี้ยงมากประมาณ 80-120 มล./นาที
ต่อมธัยรอยด์มี 2 Lobe ซ้ายและขวา
Follicular cell
สร้างและเก็บของเหลวที่มีลักษณะข้น เรียกว่า Colloid
ภาวะที่ต่อมยังไม่ทำงาน รูปร่างแบน (Squamous) colloid สะสมมาก
ภาวะที่ต่อมมีการสร้างฮอร์โมนเซลล์จะตัวโตขึ้นเป็น Cuboid หรือ Columnar และมี Colloid สะสมอยู่น้อยเพราะถูกนำไปใช้ในเซลล์
หน้าที่ของ T3 และ T4
ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารต่างๆ ในร่างกาย
เป็นฮอร์โมนที่มีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโต
ควบคุม Lipid metabolism
เพิ่มการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตของลำไส้
Parafollicular
สร้างฮอร์โมน Calcitonin ซึ่งเป็น Polypeptide ทำหน้าที่ลด
ปริมาณแคลเซียมในเลือด และเกิดการสะสมแคลเซียมในกระดูก
ต่อมหมวกไต (Adrenal gland
or Suprarenal gland)
ลักษณะ
ต่อมหมวกไตเป็นต่อมที่อยู่เหนือไตทั้ง 2 ข้าง
รูปร่างแบน คล้ายพระจันทร์ซีก
มี Capsule หุ้ม ซึ่งเป็น Collagen connective tissue
แบ่งเป็น 2 ชั้น
Adrenal cortex
Glucocorticoids เช่น Cortisol และ Corticosterone กระตุ้นให้มีการสร้าง Glucose
Sex hormone เช่น Androgens และ Estrogens
Adrenal medulla
Epinephrine
Norepinephrine
รังไข่ (Ovaries)
Estrogen สร้างจาก Graafian follicles ทำหน้าที่ควบคุมการมีประจำเดือน การเจริญของเต้านม
Progesterone สร้างจาก Corpus luteum ทำหน้าที่ควบคุมการมี
ประจำเดือนร่วมกับ Estrogen
อัณฑะ (Testes)
ผลิตฮอร์โมน Testosterone
ควบคุมการเจริญเติบโตของ
ร่างกายที่เป็นลักษณะของเพศชาย
ต่อมธัยรอยด์(Thyroid gland)
สร้างฮอร์โมน Thymosin ซึ่งช่วยในการเจริญของ T lymphocyte
ต่อมไพเนียล (Pineal gland)
หน้าที่
Pinealocytes ผลิตและหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin) ซึ่งเชื่อว่าทำหน้าที่ควบคุมการหลับ
ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ ทำให้เป็นหนุ่มเป็นสาวช้าลง